สาระการเรียนรู้ที่ ๕ การสร้างตารางค่าความจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ตัวอย่างที่ 2.8 วิธีทำ.
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การเขียนรายงานการทดลอง
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ประพจน์ และค่าความจริง
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
การคิดและการตัดสินใจ
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สัจนิรันดร์ ข้อขัดแย้งและข้อความที่สรุปไม่ได้
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวน โรงเรียนบุรพรัตน์วิทยาคาร
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สป.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
เราไปกัน เลย. ยังไม่ถูก จ้า ถูกต้อง แล้ว.
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
วิธีสอนแบบอุปนัย.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระการเรียนรู้ที่ ๕ การสร้างตารางค่าความจริง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถสร้างตารางค่าความจริงได้ถูกต้อง 2. นักเรียนสามารถหาค่าความจริงของประพจน์ได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้ที่ ๕ การสร้างตารางค่าความจริง ถ้า p และ q เป็นประพจน์ย่อยแล้ว เราเคยสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบ p  q, p  q, p  q และ p มาแล้ว สำหรับหัวข้อนี้เราจะสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบอื่น ๆ ที่ซับซ้อนขึ้น เมื่อกำหนดประพจน์ย่อย โดยไม่ได้กำหนดค่าความจริง การหาค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบสามารถหาได้โดยการสร้างตารางค่าความจริงให้ครอบคลุมทุกกรณีของค่าความจริงของประพจน์ย่อย ซึ่งจะมีกี่กรณีขึ้นอยู่กับว่ามีประพจน์ย่อยจำนวนกี่ประพจน์

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง ถ้ามีประพจน์ย่อย p ประพจน์เดียว ตารางค่าความจริงจะมี 2 กรณี(เท่ากับ กรณี) ตามค่าความจริงของ p คือ T และ F ลักษณะตารางค่าความจริงจะเป็นดังนี้ P T F

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง ถ้ามีประพจน์ย่อย p และ q สองประพจน์ จะเกิดการจับคู่กันระหว่างค่าความจริงของ p และ q ดังแผนภาพต่อไปนี้ ค่าความจริงของ p ค่าความจริงของ q T F

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง ดังนั้น ตารางค่าความจริงจะมี 4 กรณี(เท่ากับ กรณี) ลักษณะของตารางค่าความจริง จะเป็นดังนี้ p q T F

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง ถ้ามีประพจน์ย่อย p, q และ r สามประพจน์ จะเกิดการจับคู่กันระหว่างค่าความจริงของ p, q และ r ดังแผนภาพต่อไปนี้

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง ค่าความจริงของ p ค่าความจริงของ q ค่าความจริงของ r T F T T T T T T

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง ดังนั้น ตารางค่าความจริงจะมี 8 กรณี(เท่ากับ กรณี) ลักษณะของตารางค่าความจริง จะเป็นดังนี้ ค่าความจริงของ p ค่าความจริงของ q ค่าความจริงของ r T F

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง ในทำนองเดียวกัน ถ้ามีประพจน์ถ้ามีประพจน์ย่อย p, q, r และ s สี่ประพจน์ ตารางค่าความจริงจะมีกรณีทั้งหมด กรณี มีลักษณะดังนี้ p q r s T F

สาระการเรียนรู้ที่ ๕การสร้างตารางค่าความจริง p q r s F T โดยทั่วไป ถ้ามีประพจน์ย่อย n ประพจน์ ตารางค่าความจริงจะมีกรณีทั้งหมด กรณี

ตัวอย่างที่ 1 จงสร้างตารางค่าความจริงของ (p  q)  (p  q) วิธีทำ ในตัวอย่างนี้ตัวเชื่อมหลักคือ “” ในตารางค่าความจริงจะมี 4 กรณี ในตารางค่าความจริงควรมีหลักต่าง ๆ ดังนี้ ค่าความจริงของ p, q, p  q, p  q และ (p  q)  (p  q) รวมทั้งหมด 5 หลัก โดยใช้ข้อตกลงของตัวเชื่อม ,  และ  จะได้ตารางค่าความจริงดังนี้

p q p  q p  q (p  q)  (p  q) T F

ตัวอย่างที่ 2 จงสร้างตารางค่าความจริงของ (p  q)(p  q) วิธีทำ p q p q p  q p  q (p  q)(p  q) T F

ตัวอย่างที่ 3 จงสร้างตารางค่าความจริงของ (p  r)  q วิธีทำ p q r q r p  r (p  r)  q T F

แบบฝึกทักษะ จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ในข้อต่อไปนี้ 1. (p  q)  p 2. [(p  q)  p]  q 3. (p  q)  (p  q) 4. [p  (q  r)]  [p  (q  r)] 5. [(p  q)  r]  [p  (q  r)]

กลับสู่หน้าเมนูหลัก