Lecture 5 SQL (Structured Query Language)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

BC421 File and Database Lab
UPDATING DATA By SQL (SA&D-9)
HO Session 14: Database Design Principles
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
12. การบันทึกข้อมูลลงในตาราง
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
File System Example of File System Employee Department
เนื้อหา 1. สืบค้นข้อมูลจากหนึ่งตาราง
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
สถาปัตยกรรม ActiveX Data Object (ADO)
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
Copyright © 2004, Oracle. All rights reserved. Oracle Practice.
ภาษา SQL (Structured Query Language)
การสร้างฐานข้อมูล.
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
การเลือกข้อมูลชุด ด้วยคำสั่ง IN
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
MySQL.
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
SQL - Structured Query Language
– Web Programming and Web Database
Structured Query Language (SQL) (2)
บทที่ 3 แบบจำลองข้อมูล Data Models Algebra
บทที่ 3 แบบจำลองข้อมูล Data Models Calculus
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ดีบักเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่ให้ผู้ใช้ ตรวจสอบ และแก้ไขค่าใน หน่วยความจำ โหลด เก็บ ตรวจสอบค่าในเรจิสเตอร์ และสามารถ เขียนโปรแกรมแอสเซมบลีได้อย่าง สะดวก.
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การใช้ฟังก์ชั่นทาง EXCEL
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
ค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากฐานข้อมูล (SA&D-10)
The Relational Data Model
SQL Structured Query Language.
การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ
CHARPTER 4 การสอบถามข้อมูลแบบมีเงื่อนไข
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การสอบถามข้อมูลแบบซ้อนกัน
CHARPTER 9 การเชื่อมเทเบิล JOIN…. TABLE.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
การสร้างตาราง,ฟอร์มและการส่งค่า Get and Post คอลโทรลต่าง ๆ
SML Report Designer การออกแบบรายงาน.
CHAPTER 12 SQL.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
SQL Structured Query Language.
แปลเพลง Jealous ( หึง ) ฉันไม่ชอบสายตาที่เขามองเธอเลย ฉันเริ่มจะคิดแล้วว่าเธอก็ต้องการเขา เหมือนกัน ฉันบ้าไปแล้วรึเปล่า ฉันเสียเธอไปแล้วใช่มั้ย ? ถึงแม้ฉันจะรู้ว่าเธอรักฉัน.
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
E-R to Relational Mapping Algorithm
Enhanced Entity-Relationship Modeling
SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 2 Online available at
SQL - Structure Query Language (Part 2) ภาษามาตรฐานสำหรับนิยาม ข้อมูลและการใช้ข้อมูล A ระบบจัดการฐานข้อมูล 3(2-2) อ. ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ.
จากรูป ถามถึง Foreign key ของใบจัดสินค้า หากใครเลือกตอบ ในวงกลมสีเขียว ได้คะแนน นอกนั้น หักคะแนน  ส่วนเลขที่ใบ นั้น ถือเป็น.
Introduction to SQL - 3 (MySQL) – Special Problem (Database)
การสร้างตารางใน เอกสาร Microsoft Word สิ่งที่ต้องเรียนในคาบนี้  เริ่มต้นสร้างตาราง  การจัดการกับแถวและคอลัมน์  การผสานช่องตารางและการจัดแนวข้อความ.
PHP: [9] ฐานข้อมูล MYSQL
การสร้างตารางในเอกสาร
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
Database Design & Development
ภาษา SQL (Structured Query Language)
Relational Algebra & Relational Calculus
Lecture 5 SQL (Structured Query Language)
SQL – Web Programming and Web Database
7 Entity-Relationship Modeling แผนภาพความสัมพันธ์ ORACLE MS SQL SERVER
การจัดการข้อมูลขั้นสูง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lecture 5 SQL (Structured Query Language)

Multi-Table Queries (JOIN) INNER JOIN OUTER JOIN LEFT OUTER JOIN RIGHT OUTER JION FULL OUTER JION

INNER JOIN เป็นการ join ข้อมูลจาก 2 ตารางขึ้นไปโดยระบุคอลัมน์ที่มี ข้อมูลตรงกัน ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงเฉพาะแถวที่มีข้อมูลตรงกัน สำหรับ INNER JOIN นี้หรืออาจเรียกย่อๆ ว่า JOIN ก็ได้

OUTER JOIN เป็นการ join ข้อมูลจาก 2 ตารางขึ้นไป ขณะที่ INNER JOIN ให้ผลเฉพาะแถวที่มีข้อมูลตรงกันในคอลัมน์ที่ระบุแต่ OUTER JOIN จะนำข้อมูลในตารางทั้งสองออกมาแสดงโดยไม่สนใจว่าจะ มีข้อมูลที่ตรงกันหรือไม่ตรงกัน ซึ่งถ้าหากแถวใดมีข้อมูลที่ไม่ตรง กัน ก็จะแสดงข้อมูลในคอลัมน์นั้นเป็น NULL ไป

LEFT OUTER JOIN ( *=) เป็นการ join ข้อมูลจาก 2 ตารางขึ้นไป โดยจะถือเอาตาราง ทางซ้ายของคำว่า LEFT OUTER JOIN เป็นหลัก โดยข้อมูลทุกๆ แถวจากตารางด้านซ้ายจะถูกนำแสดง ไม่ว่าจะมีข้อมูลตรงกันกับ ตารางด้านขวาหรือไม่ก็ตาม ถ้าไม่มีข้อมูลในตารางด้านขวาที่ ตรงกันก็จะแสดงค่าเป็น NULL

RIGHT OUTER JOIN ( =*) เป็นการ join ข้อมูลจาก 2 ตารางขึ้นไป โดยจะถือเอาตาราง ทางขวาของคำว่า RIGHT OUTER JOIN เป็นหลัก โดยข้อมูล ทุกๆแถวจากตารางด้านขวาจะถูกนำแสดง ไม่ว่าจะมีข้อมูลตรงกัน กับตารางด้านซ้ายหรือไม่ก็ตาม ถ้าไม่มีข้อมูลในตารางด้านซ้าย ที่ตรงกันก็จะแสดงค่าเป็น NULL

FULL OUTER JOIN เป็นการ join ข้อมูลจาก 2 ตารางขึ้นไป โดยแสดงข้อมูลทุกแถว จากตารางที่นำมา join โดยจะบรรจุค่า null ลงไปเมื่อไม่สามารถ จับคู่ระหว่างแอตตริบิวต์ได้

การใช้งาน JOIN SELECT { column_name } [,...n] FROM { table_name } [, ...n] [ [ INNER ] | { LEFT | RIGHT | FULL} [ OUTER ] ] JOIN { table_name } ON { search_conditions}

Example: INNER JOIN แบบที่ 1 : ANSI SQL-92 Syntax SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b INNER JOIN PropertyForRent1 AS p ON b.bCity = p.pCity; แบบที่ 1 : ANSI SQL-92 Syntax SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b, PropertyForRent1 AS p WHERE b.bCity = p.pCity; แบบที่ 2 : Transact - SQL

Example: INNER JOIN

Example: INNER JOIN

Example: LEFT OUTER JOIN SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b LEFT JOIN PropertyForRent1 AS p ON b.bCity = p.pCity; แบบที่ 1 : ANSI SQL-92 Syntax SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b, PropertyForRent1 AS p WHERE b.bCity *= p.pCity; แบบที่ 2 : Transact - SQL

Example: LEFT OUTER JOIN

Example: RIGHT OUTER JOIN SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b RIGHT JOIN PropertyForRent1 AS p ON b.bCity = p.pCity; แบบที่ 1 : ANSI SQL-92 Syntax SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b, PropertyForRent1 AS p WHERE b.bCity =* p.pCity; แบบที่ 2 : Transact - SQL

Example: RIGHT OUTER JOIN

Example: FULL OUTER JOIN SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b FULL JOIN PropertyForRent1 AS p ON b.bCity = p.pCity; (SELECT b.*, p.* FROM Branch1 AS b LEFT JOIN PropertyForRent1 AS p ON b.bCity = p.pCity) UNION FROM Branch1 AS b RIGHT JOIN PropertyForRent1 AS p ON b.bCity = p.pCity);

Example: FULL OUTER JOIN

Example: Three Table JOIN ในแต่ละสาขา ให้แสดงรหัสและชื่อพนักงานที่ดูแลบ้านเช่า พร้อมทั้งที่ตั้ง จังหวัดของแต่ละสาขา และรายละเอียดบ้านเช่าที่ถูกดูแลโดยพนักงาน แบบที่ 1 : ANSI SQL-92 Syntax SELECT b.branchNo, b.city, e.empNo, e.empName, p.propertyNo, p.street FROM Branch AS b JOIN Employee AS e ON b.branchNo = e.branchNo JOIN Property_For_Rent AS p ON e.empNo = p.empNo;

Example: Three Table JOIN แบบที่ 2 : Transact - SQL SELECT b.branchNo, b.city, e.empNo, e.empName, p.propertyNo, p.street FROM Branch AS b, Employee AS e, Property_For_Rent AS p WHERE b.branchNo = e.branchNo AND e.empNo = p.empNo

Example: Three Table JOIN