การเขียนผังงาน (Flowchart)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Program Flow Chart.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Object-Oriented Analysis and Design
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Flowchart Drawing By DIA
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
บทที่ 4 อัลกอริทึมแบบเรียงลำดับ (Sequential Algorithm)
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Information Technology
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนผังงาน (Flowchart)

การเขียนผังงาน การเขียนผังงาน หมายถึง การอธิบายลำดับขั้นตอนการทำงานโดยใช้สัญลักษณ์ ประกอบเข้าด้วยกัน และมีทิศทางแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นการทำงานถึงขั้นตอนสุดท้ายการเขียนภาพสัญลักษณ์แสดงลำดับขั้นตอนของการทำงาน

ประเภทของผังงาน 1) ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังแสดงขั้นตอนการทำงานภายในระบบ นั่นหมายถึง ส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด ทั้งวัสดุ เครื่องจักรอุปกรณ์ และบุคลากร ผังระบบงานจะแสดงขั้นตอนตั้งแต่ต้นว่ามีเอกสารเบื้องต้นเริ่มต้นจากส่วนใดของระบบงานและผ่านไปยังหน่วยงานใดมีกิจกรรมอะไรในหน่วยงานนั้น และส่งต่อไปที่ใดจึงจะเสร็จสิ้น

ประเภทของผังงาน 2) ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) หมายถึง ผังแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานโปรแกรม ดังนั้นจึงมีส่วนการทำงานใน ขั้นตอน การรับข้อมูล การคำนวณหรือการประมวลผล และการแสดงผลลัพธ์ ผังงานโปรแกรมนี้อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ผังงานโปรแกรม”

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน การเขียนผังงาน ต้องใช้ภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ นำมาเรียงต่อกันเพื่อแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน โดยมีลูกศรเชื่อมระหว่างภาพต่าง ๆ ภาพที่ใช้ใน การเขียนผังงาน

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 1. สัญลักษณ์ แทน จุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุด START STOP

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 2. สัญลักษณ์ แทน การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ด INPUT ตัวอย่าง money sugar fish_suace cookie

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 3. สัญลักษณ์ แทน การประมวลผล PROCESS ตัวอย่าง m_remain = money – (sugar + fish_sauce + cookie)

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 4. สัญลักษณ์ แทน การแสดงผล 4. 1 แสดงผลทางจอภาพ OUTPUT ตัวอย่าง m_remain

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 4. 2 แสดงผลทางเครื่องพิมพ์ OUTPUT ตัวอย่าง m_remain

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 5. สัญลักษณ์ แทน การเปรียบเทียบ / ตัดสินใจ Decision ตัวอย่าง score >= 80

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 6. สัญลักษณ์ แทน ทิศทางการทำงาน ตัวอย่าง score >= 80 Grade “A”

ตัวอย่าง ผังงานโปรแกรมการคิดเงินคงเหลือ START money sugar fish_sauce cookie m_remain = money – (sugar + fish_sauce + cookie) m_remain STOP