ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายการพัฒนาเศรษฐกิจ ของไทยในอดีตและปัจจุบัน ได้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย อดีต ปัจจุบัน - เค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ - สภาเศรษฐกิจแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย อดีต ปัจจุบัน - มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติแล้ว 9 ฉบับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย อดีต ปัจจุบัน ฉบับที่ 10 ( พ.ศ.2550-2554 )
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 - 7 (พ.ศ.2504- 2539)
ฉบับที่ 1 - 2 - เน้นการสร้างความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ - โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
- ลดอัตราการเพิ่มประชากร - การกระจายรายได้ ฉบับที่ 3 - ให้ความสำคัญการพัฒนาสังคม - ลดอัตราการเพิ่มประชากร - การกระจายรายได้
ฉบับที่ 4 - ความผันผวนทางการเมือง และวิกฤตการณ์น้ำมัน - ขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัด
- เน้นการรักษาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ ฉบับที่ 5 - 6 - เน้นการรักษาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ - ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ - แก้ไขปัญหาความยากจน
- แนวการพัฒนาอย่างยั่งยืน ฉบับที่ 7 - แนวการพัฒนาอย่างยั่งยืน - การกระจายรายได้ที่เป็นธรรม - พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สรุป 1. ประสบผลสำเร็จในการพัฒนา 2. เศรษฐกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว 3. รายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น 4. ไทยจัดเข้าสู่ประเทศกำลังพัฒนา
5. สัดส่วนคนยากจนลดลง 6. มีงานทำอยู่ในระดับเต็มที่ 7. ได้รับบริการโครงสร้างพื้นฐาน และบริการทางสังคมมากขึ้น
ปัญหา 1. ขาดความสมดุลเรื่องการ กระจายรายได้ 2. ผลประโยชน์จากการพัฒนา ไม่ทั่วถึง
ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) มีความสุข เน้นคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา คุณภาพชีวิตดีขึ้น ให้ทุกฝ่ายในสังคมมีส่วนร่วมพัฒนา
การแก้ไขปัญหา 1. ปรับแผนเพื่อแก้ปัญหา 2. เน้นการรักษาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ
3. ปรับโครงสร้างให้เข้มแข็งและ กลับสู่สมดุล 4. ปรับระบบบริหารจัดการเพื่อ ฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้ ผลกระทบ ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ปัญหาคุณภาพชีวิต ยากจน การว่างงาน ความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545 -2549)
ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ฉบับที่ 9 ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง - เพื่อนำทางในการพัฒนาและ บริหารประเทศ
สมานฉันท์และเอื้ออาทร สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ วิสัยทัศน์ร่วม สังคม สมานฉันท์และเอื้ออาทร สังคม คุณภาพ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ฉบับที่ 9 คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา - สามารถพึ่งตนเองได้ - พร้อมที่จะเรียนรู้ ยึดหลักทางสายกลางและมีภูมิคุ้มกัน และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาที่สมดุล ด้านตัวคน สิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ