“การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาโรคผิวหนัง” นพ. ปุณวิศ สุทธิกุลณเศรษฐ์ สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
Skin biopsy specimens Excisional biopsy Incisional biopsy Shave/Tangential biopsy Punch biopsy Curettage Moh’s micrographic surgery
Excisional biopsy
Incisional biopsy
Shave biopsy
Punch biopsy
Adequate specimen
เทคนิคที่ใช้ในการวินิจฉัยพยาธิวิทยาผิวหนัง Haematoxylin and Eosin (H&E) Special stains (Gram, GMS, PAS, Masson- trichrome, Fontana-Masson, van Gieson, von Kossa, Crystal violet, Congo red, Thioflavin-T, Toluidine blue, Giemsa, Warthin-Starry) Immunohistochemistry Immunofluorescent study DOPA stain
Transfer/ fixative media 10% neutral buffered formalin Normal saline Alcohol Glutaldehyde Mitchell medium
สิ่งสำคัญต่อการวินิจฉัยพยาธิวิทยาทางผิวหนัง ภาพโดยรวมของรอยโรค รูปแบบของการอักเสบ และ ความเกี่ยวข้องของรอย โรคกับชั้นของผิวหนัง รอยโรคครบหรือไม่จากการตัด รอยโรคถูกตัดออกได้หมดมากน้อยเพียงใด
ภาพโดยรวมของรอยโรค
รูปแบบของการอักเสบและความเกี่ยวข้องของรอยโรคกับชั้นของผิวหนัง
รอยโรคครบหรือไม่จากการตัด
รอยโรคถูกตัดออกได้หมดมากน้อยเพียงใด
Tissue artifacts ที่มีผลต่อการวินิจฉัย Fine black spots (ตะกอนฝุ่นดำ) Holes (รู) Bubbles (ฟองอากาศ) Carry over artefacts (ชิ้นเนื้ออื่นปน) Floaters (เศษของผิวหนังที่หลุดลอย) Folding (รอยพับ) Knife/Blade mark (รอยมีด) Crushing artefact (ชิ้นเนื้อถูกบี้จากการจับชิ้นเนื้อ)
ตะกอนฝุ่นดำ
รูที่เกิดจากการตัด
รอยพับ
รอยมีด
ชิ้นเนื้อถูกบี้จากการจับชิ้นเนื้อ
หัวใจในการวินิจฉัยพยาธิวิทยาผิวหนัง ให้เห็นลักษณะรูปร่างรอยโรคทั้งหมดมากเท่าที่ทำได้ มากที่สุด ให้เห็นทุกชั้นของผิวหนังมากเท่าที่ทำได้มากที่สุด ลดปัจจัยที่มีผลต่อการแปลผลให้มากที่สุดที่ทำได้ หากต้องการตัดเพิ่มเติมให้ตัดแบบ Serial section เท่านั้น ให้เห็๋นขอบเขตของรอยโรคและชิ้นเนื้อที่ตัดออกมาที่ แท้จริง
ให้เห็นลักษณะรูปร่างรอยโรคทั้งหมดมากเท่าที่ทำได้มากที่สุด
ให้เห็นทุกชั้นของผิวหนังมากเท่าที่ทำได้มากที่สุด
ลดปัจจัยที่มีผลต่อการแปลผลให้มากที่สุดที่ทำได้
หากต้องการตัดเพิ่มเติมให้ตัดแบบ Serial section เท่านั้น
ให้เห็๋นขอบเขตของรอยโรคและชิ้นเนื้อที่ตัดออกมาที่แท้จริง
Thank you for your attention!