คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
สื่อการเรียนรู้ โดย นางสุมิตรา ดีมี
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
8.4 Stoke’s Theorem.
Conductors, dielectrics and capacitance
นโยบายการปรับเงินเดือน ประจำปี 2548 โปรดกรอกข้อมูลตามความเป็นจริงของท่าน คำตอบของท่านจะเป็นผลต่อการพิจารณาปรับ เงินเดือน ปี 2548 นี้ คลิกต่อไป.
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
หั่ว ฉาย เหยิน เตอ กู้ ซื่อ
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การหาปริพันธ์ (Integration)
การใช้งานโปรแกรม EViews เบื้องต้น
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
นโยบายการจ่ายโบนัส ประจำปี 2549 โปรดกรอกข้อมูลตามความความรู้สึกที่เป็นจริงของท่าน คำตอบของท่านจะเป็นผลต่อการพิจารณาจ่ายโบนัส ปี 2549 นี้ คลิกต่อไป.
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
เทคนิค การเติมเต็ม พลังชีวิตให้สำเร็จ 100%
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
คุณสมบัติการหารลงตัว
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
การแยกตัวประกอบพหุนาม
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การเขียนผังงานแบบทางเลือก
วิธีทำ ตัวอย่างที่ วิธีทำ สินค้าทั้งหมดของ โรงงาน ตัวอย่างที่ 2.20.
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
สอบถามความต้องการโบนัส ประจำปี 2553 โปรดกรอกข้อมูลตามความความรู้สึกที่เป็นจริงของท่าน คำตอบของท่านจะเป็นผลต่อการพิจารณาจ่ายโบนัส ปี 2553 นี้ คลิกต่อไป.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน ระบบงานการเงิน
พีระมิด.
วงรี ( Ellipse).
สวัสดีครับ ผมบาร์ต ครับ ผมมีคำถาม เรื่องเครื่องหมาย วรรคตอนมาถามกัน ครับ.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่อง สองพี่น้อง น. ส. สุพรรษา เคียงสันเทียะ ม.6/2 เลขที่ 13.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง 1. กำหนดฟังก์ชัน y = f(x) = x2 + 1 อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก เท่ากับข้อใด X = 2 ถึง 2.5 ก 2.5 ข 3.5 ค 4.5 ง 5.5 2. X = 2 ถึง 1.5 3. X ถึง x+h

ศึกษาตัวอย่าง

ศึกษาตัวอย่าง

คุณเริ่มเข้าใจแล้วครับ เก่งจัง ไปข้อ2

ศึกษาตัวอย่าง

กำหนดฟังก์ชัน y = f(x) = x2 + 3 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก 3. X ถึง x+h = ((3.5)2 + 3) – ((3)2 + 3) 1. h = 3.5 – 3 = 0.5 Y ที่เปลี่ยนไป = f (3.5) – f(3) = 12.25 - 9 = 3.25 ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก x = 3 ถึง x = 3.5 คือ ต่อไป

2. h = 1.5 – 3 = -0.5 Y ที่เปลี่ยนไป = f (1.5) – f(2) = ((1.5)2 + 3) – ((2)2 + 3) 2. h = 1.5 – 3 = -0.5 Y ที่เปลี่ยนไป = f (1.5) – f(2) = 2.25 - 4 = -1.75 ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก x = 2 ถึง x = 1.5 คือ ต่อไป

3. x ถึง x + h Y ที่เปลี่ยนไป = f (x + h) – f(x) = ((x + h)2 + 3) – ((x)2 + 3) 3. x ถึง x + h Y ที่เปลี่ยนไป = f (x + h) – f(x) = (x2+2xh+h2+3) – (x2+3) =(x2+2xh+h2+3 – x2 – 3) ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก x = 2 ถึง x = 1.5 คือ = 2xh + h2 ทำข้อนี้อีกครั้ง

คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง 2. กำหนดฟังก์ชัน y = f(x) = x2 + 1 อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก เท่ากับข้อใด x ถึง x+h ก 2x+h ข 2x ค 4x+h ง 4x

ข้อต่อไป

ศึกษาตัวอย่าง

ศึกษาตัวอย่าง

ศึกษาตัวอย่าง

กำหนดฟังก์ชัน y = f(x) = x2 + 3 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก 3. X ถึง x+h = ((3.5)2 + 3) – ((3)2 + 3) 1. h = 3.5 – 3 = 0.5 Y ที่เปลี่ยนไป = f (3.5) – f(3) = 12.25 - 9 = 3.25 ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก x = 3 ถึง x = 3.5 คือ ต่อไป

2. h = 1.5 – 3 = -0.5 Y ที่เปลี่ยนไป = f (1.5) – f(2) = ((1.5)2 + 3) – ((2)2 + 3) 2. h = 1.5 – 3 = -0.5 Y ที่เปลี่ยนไป = f (1.5) – f(2) = 2.25 - 4 = -1.75 ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก x = 2 ถึง x = 1.5 คือ ต่อไป

3. x ถึง x + h Y ที่เปลี่ยนไป = f (x + h) – f(x) = ((x + h)2 + 3) – ((x)2 + 3) 3. x ถึง x + h Y ที่เปลี่ยนไป = f (x + h) – f(x) = (x2+2xh+h2+3) – (x2+3) =(x2+2xh+h2+3 – x2 – 3) ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x จาก x = 2 ถึง x = 1.5 คือ = 2xh + h2 ทำข้อนี้อีกครั้ง

คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง 3. กำหนดฟังก์ชัน y = f(x) = 3x2 -2x + 1 อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะ x มีค่าใดๆ เท่ากับข้อใด ก 3x ข 3x-2 ค 6x ง 6x-2

ไปข้อ4

ศึกษาตัวอย่าง

ศึกษาตัวอย่าง

ศึกษาตัวอย่าง

กำหนด y = f(x) (เมื่อค่าของ x เปลี่ยนเป็น x+h เมื่อ h ไม่เท่ากับ 0) อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x มีค่าใดๆ คือ ต่อไป

ระวัง! ตัดกันได้ให้ตัด กำหนด y = f(x) = 2x2+x - 3 1. จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x มีค่าใดๆ 2. จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x = 5 วิธีทำ ให้ y = f(x) = 2x2 + x – 3 จะได้ f(x+h) = 2(x+h)2+(x+h)-3 = 2(x2+2xh+h2)+x+h-3 = 2x2+4xh+h2+x+h-3 1. 1 ระวัง! ตัดกันได้ให้ตัด ต่อไป

ไม่เห็นยากเลยนะ! จะได้ ต่อไป

2. จะได้ อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x = 5 ไม่ยากอีกนั่นแหละ กลับไปทำอีกรอบ

คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง 4. กำหนดฟังก์ชัน y = f(x) = 3x2 -2x + 1 อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะ x = 1 มีค่าเท่ากับข้อใด ก 5 ข 4 ค 3 ง 2

ไปข้อ5

ศึกษาตัวอย่าง

ศึกษาตัวอย่าง

ศึกษาตัวอย่าง

กำหนด y = f(x) (เมื่อค่าของ x เปลี่ยนเป็น x+h เมื่อ h ไม่เท่ากับ 0) อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x มีค่าใดๆ คือ ต่อไป

ระวัง! ตัดกันได้ให้ตัด กำหนด y = f(x) = 2x2+x - 3 1. จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x มีค่าใดๆ 2. จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x = 5 วิธีทำ ให้ y = f(x) = 2x2 + x – 3 จะได้ f(x+h) = 2(x+h)2+(x+h)-3 = 2(x2+2xh+h2)+x+h-3 = 2x2+4xh+h2+x+h-3 1. 1 ระวัง! ตัดกันได้ให้ตัด ต่อไป

ไม่เห็นยากเลยนะ! จะได้ ต่อไป

2. จะได้ อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y หรือ f(x) เทียบกับ x ขณะที่ x = 5 ไม่ยากอีกนั่นแหละ กลับไปทำอีกรอบ

คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง 5. กำหนดฟังก์ชัน y = f(x) = 3x2 -2x + 1 อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะ x = 1 มีค่าเท่ากับข้อใด ก 5 ข 4 ค 3 ง 2