การพัฒนามัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ผลการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ADDIE Model.
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
การเขียนรายงานผลการวิจัย
นายวรเชษฐ์ ไชยสงค์ รหัส
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนามัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญา ในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 DEVELOPMENT OF MULTIMEDIA TO SUPPORT SCHEMA ON LEARNING ENGLISH VOCABULARY FOR ELEMENTARY STUDENTS โดย : นางสาวภาสินี ก้านจักร ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร อ.ดร.พงศ์ธนัช แซ่จู Department of Educational Technology Faculty of Education, Khon Kean University

มัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญา ความเป็นมาและความสำคัญ เรียนจากการท่องจำ Schema สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง Multimedia มัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญา

Schema สกีมาได้จัดเตรียมบริบทที่ส่งผลว่า ผู้เรียนจะตีความหรือแปลประสบการณ์ใหม่อย่างไร การเข้ารหัส การระลึกได้ (recall) Schema schema as memory structure schema as abstraction schema as network schema as dynamic structure schema as context ลักษณะที่ถูกจัดวาง ตำแหน่ง หรือ สิ่งที่แปรถูกยกเป็นตัวอย่างผ่านการระลึกถึง หรือการรู้จัก การปรับสกีมาให้เข้ากับข้อมูลข่าวสารหรือประสบการณ์ใหม่ที่ประสบความสำเร็จบ่อยๆ โหนด (note) และลิงค์ (link) ที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโหนดทั้งคู่

1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญา ในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี Multimedia Constructivism วิชาภาษาอังกฤษ Schema Technology Pedagogies Learning theory Constructivism วิชาภาษาอังกฤษ Knowledge and skill Schema OLEs

วิธีการดำเนินงานวิจัย ผู้วิจัยได้ประยุกต์หลักการวิจัยเชิงพัฒนาของ Richey and Klein (2007) ซึ่งประกอบด้วย 3 กระบวนการ กระบวนการออกแบบ กระบวนการพัฒนา กระบวนการประเมิน โดยผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยเอกสาร ศึกษาบริบทการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนจริง สังเคราะห์แนวคิดในการออกแบบฯและนำมาเป็นพื้นฐานในการสร้างมัลติมีเดียและทำการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ จากกระบวนการออกแบบในข้างต้นนำมาสู่สร้างโดย บูรูณาการร่วมกับเทคโนโลยีบนเครือข่ายและการนำไปทดลองใช้ในสภาพบริบทจริง และการประเมินเพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและสมบูรณ์แบบ ประยุกต์จากการประเมินประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ สุมาลี ชัยเจริญ (2547) ซึ่งประกอบด้วย (1) การประเมินด้านผลผลิต (2) การประเมินด้านบริบทการใช้ (3) การประเมินด้านความคิดเห็น (4) การประเมินความสามารถ (5) การประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ผลการวิจัย

กรอบแนวคิดการออกแบบ เรียนรู้คำศัพท์จาก สถานการณ์จำลอง ธนาคารความรู้ การกระตุ้นการสร้างโครงสร้างทางปัญญา Cognitive constructivism Enabling contexts เรียนรู้คำศัพท์จาก สถานการณ์จำลอง OLEs โครงสร้างทางปัญญา กระบวนการคิด ความรู้เดิม การเชื่อมโยง Schema as Memory Structure ธนาคารความรู้ การสนับสนุนปรับสมดุลทางปัญญา Conceptual Model Cognitive constructivism Static Resource OLEs Processing Tool Manipulation Tool Communication Tool เครื่องมือทางปัญญา Schema as Memory Structure โครงสร้างทางปัญญา กระบวนการคิด ความรู้เดิม การเชื่อมโยง การส่งเสริมทักษะ การเรียนรู้คำศัพท์ ศูนย์พัฒนาการรู้ การเรียนรู้คำศัพท์ Schema as Memory Structure โครงสร้างทางปัญญา กระบวนการคิด ความรู้เดิม การเชื่อมโยง ฐานการช่วยเหลือ Conceptual Scaffolding Metacognitive Scaffolding Procedural Scaffolding Strategic Scaffolding การช่วยเหลือและการขยายมุมมองที่หลากหลาย OLEs ชุมชนการเรียนรู้ Schema as Memory Structure Social Support

ผลการวิจัย 1)สถานการณ์ปัญหา 6) ชุมชนการเรียนรู้ มัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญาในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ มีกรอบแนวคิดและองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้ 2) ธนาคารความรู้ 5) ฐานการช่วยเหลือ 3) เครื่องมือทางปัญญา 4) ศูนย์การเรียนรู้คำศัพท์

ผลการวิจัย (ต่อ) สถานการณ์ปัญหา เป็นการออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสถานการณ์ปัญหาจะเป็นเสมือนประตูที่ผู้เรียนจะเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียนรู้ เป็นสถานการณ์ปัญหาที่มีหลากหลายสภาพบริบท ที่ผู้เรียนเผชิญในสภาพจริง สถานการณ์ปัญหาที่เป็นเรื่องราว โดยการนำคำศัพท์ ในรายวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง GOOD FOOD มาสร้างเป็นสถานการณ์ปัญหาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้

ผลการวิจัย (ต่อ) ธนาคารความรู้ เป็นการออกแบบให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการค้นพบความรู้จากการเสาะแสวหาความรู้จากแหล่งสารสนเทศ โดยจัดแหล่งข้อมูลไว้ภายในมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบไปด้วย ข้อมูลเนื้อบทเรียนที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ทั้งหมด เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการค้นคว้า

ผลการวิจัย (ต่อ) เครื่องมือทางปัญญา การออกแบบเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน สามารถลิงค์เข้าไปดูข้อมูลที่ละเอียดขึ้น รวบรวมเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรียน สำหรับสืบค้นข้อมูล

ศูนย์การเรียนรู้คำศัพท์ ผลการวิจัย (ต่อ) ศูนย์การเรียนรู้คำศัพท์ เป็นการออกแบบให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการค้นพบความรู้จากการเสาะแสวหาความรู้จากแหล่งสารสนเทศที่ได้จัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน

ผลการวิจัย (ต่อ) ชุมชนการเรียนรู้ ออกแบบให้ผู้เรียนขยายความคิดรวบยอดให้กว้างขึ้น โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมุมมองที่หลากหลาย สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและมีการตอบโต้กันระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนและผู้เชี่ยวชาญตลอดระยะเวลาการทดลอง

ผลการวิจัย (ต่อ) ฐานการช่วยเหลือ เป็นการออกแบบการแนะนำแนวทาง และส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าใจวิธีการถ่ายโยงการเรียนรู้คำศัพท์ไปยังบริบทอื่นๆที่มีความใกล้เคียงกันได้ ช่วยแนะนำกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่การคิด หาวิธีแก้ปัญหาของผู้เรียนเอง

ด้านความสามารถทางโครงสร้างทางปัญญา ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การประเมินคุณภาพ กระบวนการประเมินประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิดบนเครือข่ายที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ได้ดำเนินการการประเมินประสิทธิภาพ โดยประยุกต์จากการประเมินประสิทธิภาพและพัฒนาสื่อบนเครือข่ายของ สุมาลี ชัยเจริญ (2547) มีความถูกต้อง เพียงพอต่อการแสวงหาคำตอบด้วยตนเอง ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ ร้อยละ 65 คิดเป็น ร้อยละ 80 ของผู้เรียนทั้งหมด ด้านผลผลิต ด้านบริบทการใช้ ด้านความคิดเห็น ด้านความสามารถทางโครงสร้างทางปัญญา ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้เรียนยังไม่คุ้นเคยกับกิจกรรมที่ต้องสร้างความรู้ตนเองและทักษะการใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ ผู้เรียนสามารถแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเรียนรู้คำศัพท์ ทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหา สถานการณ์ปัญหาว่ามีส่วนช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะแก้ปัญหาและกระตุ้นให้ผู้เรียนค้นหาคำตอบ จากการค้นพบคำตอบด้วยตัวเอง

งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ศูนย์วิจัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางปัญญา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Thank you! Contact Address: Prof. Somchai Doe Tel: Email: www.kku.ac.th