ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แบบฟอร์มที่ 1 สำนัก/กอง/ศูนย์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ประเด็นคำถามในการประชุมชี้แจงกรอบการประเมินผลส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 9 มกราคม 2557.
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
คณะทำงานด้านพัฒนาคลัง ความรู้ฯ สชป.8 นำเสนอโดยเลขาคณะทำงานฯ นายวัชระ ดางาม ( ตำแหน่งนายช่างไฟฟ้า ชำนาญงาน ) หัวหน้าฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8 และรับผิดชอบหัวหน้าศูนย์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558              ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA)

Service Level Agreement (SLA)

การจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ ขอบเขตการให้บริการ ข้อกำหนดการให้บริการ ระดับการให้บริการ ขั้นตอนการให้บริการ การรับเรื่องราวร้องเรียน ขั้นตอนการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ 1. การระบุโอกาสในการปรับปรุงและ กำหนดเป้าหมายระดับการให้บริการ 2. การจัดทำกระบวนงานใหม่และ ข้อตกลงระดับการให้บริการ 3. การนำข้อตกลงระดับการให้บริการไปใช้ตลอดจนติดตามและประเมินผล ระบุปัญหา แนวทางการปรับปรุง กระบวนงานใหม่ ข้อตกลงระดับการให้บริการ ระยะเวลาที่ใช้ในการให้บริการ จำนวนขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง คุณภาพของผลผลิตและ การให้บริการ รูปแบบและการเข้าถึงบริการ ความโปร่งใส ค่าใช้จ่าย ด้านกระบวนการทำงาน (Process) ด้านระบบ (System) ด้านผู้ปฏิบัติงาน (System) 4. การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) และการสื่อสาร (Communication)

ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน (น้ำหนักร้อยละ 10) ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน (น้ำหนักร้อยละ 10) ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ การประเมิน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ส่วนราชการที่จัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (40 กรม) กลุ่มที่ 2 ส่วนราชการที่ได้จัดทำข้อตกลระดับการให้บริการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 แล้ว และมี กระบวนงานใหม่ที่ต้องจัดทำข้อตกลงฯ เพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กับส่วนราชการที่ต้องจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (เป็นปีแรก)

เกณฑ์การประเมิน กลุ่มที่ 1 แยกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA) (น้ำหนัก ร้อยละ 10) เกณฑ์การประเมิน กลุ่มที่ 1 แยกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน น้ำหนัก 1.1 รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนการปรับปรุง/พัฒนางานบริการ ที่ได้จัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ พิจารณาจากความครบถ้วนของการดำเนินการตามกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับแผนการปรับปรุงฯ ที่กำหนดไว้ 1 1.2 ร้อยละ (เฉลี่ย) ผลสำเร็จของการปรับปรุง/พัฒนากระบวนงานบริการ เทียบกับแผนการปรับปรุงฯ 5 1.3 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการตามข้อตกลงระดับ การให้บริการ 4 รวม 10 ระดับคะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 ผลสำเร็จของการปรับปรุงบริการฯ (เฉลี่ย) 60 70 80 90 100 ระดับคะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 ผลสำรวจความพึงพอใจ 65 70 75 80 85

เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) กลุ่มที่ 2 แยกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA) เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) กลุ่มที่ 2 แยกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน น้ำหนัก 2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ 3 2.2 ร้อยละ (เฉลี่ย) ผลสำเร็จของการปรับปรุง/พัฒนากระบวนงานบริการ เทียบกับแผนการปรับปรุงฯ 4 2.3 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการตามข้อตกลงระดับการให้บริการ รวม 10 ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน ระดับ 1 จัดทำแผนปรับปรุง/พัฒนางานบริการใหม่ ระดับ 2 - ระดับ 3 จัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการงานบริการใหม่ ระดับ 4 ระดับ 5 ติดประกาศข้อตกลงระดับการให้บริการสำหรับกระบวนงานบริการใหม่ ให้ประชาชนทราบ ณ จุดให้บริการ ระดับคะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 ผลสำเร็จของการปรับปรุงบริการฯ (เฉลี่ย) 60 70 80 90 100 ระดับคะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 ผลสำรวจความพึงพอใจ 65 70 75 80 85

เกณฑ์การคำนวณคะแนน ทั้ง 2 กลุ่ม ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA) เกณฑ์การคำนวณคะแนน ทั้ง 2 กลุ่ม  Wi =  (Wi x SMi) W หมายถึง น้ำหนักของตัวชี้วัด SM หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละตัวชี้วัด i หมายถึง ลำดับที่ของตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นตามแนวทางการดำเนินงาน  (Wi x SMi) ผลคะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะองค์การ  Wi

หลักในการคัดเลือกกระบวนงาน ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA) หลักในการคัดเลือกกระบวนงาน เป็นกระบวนงานที่มีโอกาสในการปรับปรุงเพื่อยกระดับการบริการให้ดีขึ้ย งานบริการที่มีประชาชนมาขอรับบริการเป็นจำนวนมาก หรือเป็นภารกิจหลักของ ส่วนราชการ - งานบริการที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงการบริการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ ประกอบธุรกิจของประเทศไทย - งานบริการที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงระบบข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้ เอกสารระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการนำเข้า-ส่งออกสินค้า (National Single Window) - งานบริการที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชน

เงื่อนไขการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA) เงื่อนไขการดำเนินการตามตัวชี้วัด สำนักงาน ก.พ.ร. จะสนับสนุนองค์ความรู้เกี่ยวกับการปรับปรุง/พัฒนากระบวนงานบริการและการ จัดทำแผนการปรับปรุงฯ 2. ให้ส่วนราชการที่มีการจัดทำ SLA ปี 2558 ดำเนินการจัดส่งเอกสารข้อมูล ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในรอบการรายงานผลการปฏิบัติราชการ 6 เดือน ดังนี้ (ทาง E-mail) 2.1 จัดส่งแผนการปรับปรุง/พัฒนางานบริการ 2.2 จัดส่งข้อตกลงระดับการให้บริการ 2.3 ภาพถ่ายการติดประกาศข้อตกลงระดับการให้บริการ ณ จุดให้บริการ 3. รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนการปรับปรุงฯ ตามแบบฟอร์มที่กำหนด และจัดส่งให้ สำนักงาน ก.พ.ร. ทางอีเมล์ goodservice@opdc.go.th หรือเป็นหนังสือราชการ ภายในรอบการ รายงานผลการปฏิบัติราชการ 6 เดือน (สำหรับ ส่วนราชการที่ทำ SLA ปี 57) 4. รายงานผลสำเร็จของการดำเนินการปรับปรุงงานบริการตามแผนฯ ภายในระบการรายงานผลการ ปฏิบัติราชการ 12 เดือน 5. ส่วนราชการที่มีกระบวนงาน SLA มากกว่า 1 งานบริการ การประเมินผลจะพิจารณาจากค่าเฉลี่ย ผลสำเร็จของการปรับปรุงฯ ของกระบวนงานที่นำมาจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ 6. การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ต่อกระบวนการให้บริการตามข้อตกลงระดับการให้บริการ ดำเนินการโดยสำนักงาน ก.พ.ร.

กรอบระยะเวลาการดำเนินการ (ร่าง) ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA) กรอบระยะเวลาการดำเนินการ (ร่าง) ระยะเวลา กิจกรรม พ.ย. 57 สำนักงาน ก.พ.ร. จัดให้คำปรึกษาแก่ส่วนราชการ ม.ค. 58 ส่วนราชการจัดส่งข้อมูล ตามแบบฟอร์ม A_E (สำหรับส่วนราชการที่เริ่มจัดทำ SLA ปี 58 เป็นปีแรก) มี.ค. 58 จัดส่งข้อมูล ดังนี้ (สำหรับกระบวนงาน SLA ใหม่/ปีแรก) - แผนการปรับปรุง/พัฒนางานบริการ - ข้อตกลงระดับการให้บริการ - ภาพถ่ายการติดประกาศข้อตกลงระดับการให้บริการ ณ จุดให้บริการ ก.ย. 58 รายงานผลสำเร็จของการปรับปรุงฯ ทุกกระบวนงาน (รายงานรอบ 12 เดือน) ต.ค. 58 สำนักงาน ก.พ.ร. สำรวจความพึงพอใจ

www.opdc.go.th