พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Advertisements

เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การดำเนินการควบคุม สินค้าที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหิน
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
การกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยเพื่อให้สอดรับกับ พรบ
ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การสั่งจองหนังสือรวมคำบรรยาย ภาคสอง สมัย ๖๖
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
ยินดีต้อนรับสู่กิจกรรม
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System หรือ MIS )
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น. ๑๓. ๔๐ – ๑๖. ๐๐ น. ๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น.
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ รวบรวมโดย พล.ต.ต.เดชาวัต รามสมภพ รอง ผบช.ภ.3.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ยอดเงินงบประมาณที่สามารถโอน จำนวน 6,118,000 บาท ลำ ดับ ประเภท - รายการ จำน วน ราคาต่อหน่วย ( บาท ) ราคารวม ( บาท ) 1Log Management11,300,000 2 อุปกรณ์
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ รายชื่อสมาชิก นายธีรศาสตร์ ธาราไทย นางรวิชา ยืนยง
จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์
เล่มที่ 134 ตอนที่ 27 ก 18 มิถุนายน 2550
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ สำหรับ ผู้บริหาร พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
มิติทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
4/7/2017 9:01 AM การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ อ.วีระชัย บุญปก : © 2005 Microsoft.
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
ทะเบียนราษฎร.
การเตรียมความพร้อมจากผลการบังคับใช้ (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ
เหตุผลในการประกาศใช้ พ. ร. บ. ป่าสงวนฯ - รัฐมีนโยบายกำหนดในแผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ ให้มีพื้นที่ป่าไม้ร้อยละ ๕๐ ของเนื้อที่ประเทศ - ป่าที่คุ้มครองไว้แล้วและยังมิได้
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สําหรับตน.
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
อาจารย์อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

อาจารย์ อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม นายสุรสิทธิ์ ช่วยมณี รหัสนักศึกษา 54100278 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ นำเสนอ อาจารย์ อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม จัดทำโดย นายสุรสิทธิ์ ช่วยมณี รหัสนักศึกษา 54100278

ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด โครงสร้าง พ.ร.บ.ฯ คำนิยาม ม.๓ หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการ ผู้ใช้บริการ พนักงานเจ้าหน้าที่ รัฐมนตรี กระทำต่อคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ ม.๒๖: เก็บข้อมูลจราจร ๙๐ วันไม่เกิน ๑ ปี อำนาจหน้าที่ (ม.๑๘): (๑) มีหนังสือ/เรียกเพื่อให้ถ้อยคำ/เอกสาร (๒) เรียกข้อมูลจราจร (๓) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลที่อยู่ในครอบครอง (๔) ทำสำเนาข้อมูล (๕) สั่งให้ส่งมอบข้อมูล/อุปกรณ์ (๖) ตรวจสอบ/เข้าถึง (๗) ถอดรหัสลับ (๘) ยึด/อายัดระบบ ม.๕: การเข้าถึงระบบคอมฯ ม.๖: การล่วงรู้มาตรการการป้องกันการเข้าถึง ม.๗: การเข้าถึงข้อมูลคอมฯ ม.๘: การดักรับข้อมูลคอมฯ ม.๙: การรบกวนข้อมูลคอมฯ ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๓: การจำหน่าย/ เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด ม.๑๑: Spam mail ม.๑๔: การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม ม.๑๕: ความรับผิดของผู้ให้บริการ ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ/ดัดแปลง ม.๒๗: ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรือคำสั่งศาล ระวางโทษปรับ ข้อจำกัด/การตรวจสอบการใช้อำนาจ(ม.๑๙): ยื่นคำร้องต่อศาลในการใช้อำนาจตาม ม.๑๘ (๔)-(๘) , ส่งสำเนาบันทึกรายละเอียดให้แก่ศาลภายใน ๔๘ ชม., ยึด/อายัดห้ามเกิน ๓๐ วัน ขอขยายได้อีก ๖๐ วัน (ม.๑๘(๘)) ม.๑๒ บทหนัก การ block เว็บไซต์ พนักงานเจ้าหน้าที่โดยความเห็นชอบของรมว.ทก.ยื่นคำร้องต่อศาล (ม.๒๐) มีผลบังคับใช้ภายหลังประกาศใช้ ๓๐ วัน (ม.๒) ความรับผิดของพนักงานเจ้าหน้าที่: (ม.๒๒ ถึง มาตรา ๒๔) กระทำความผิดนอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร์ (ม.๑๗) พยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ อ้างและรับฟังมิได้ (ม.๒๕) การรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ (ม. ๒๕) การแต่งตั้ง/กำหนดคุณสมบัติพนักงานเจ้าหน้าที่/การประสานงาน (ม.๒๘-๒๙) 3

กรณีกระทำต่อคอมพิวเตอร์ หมวด 1. ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กรณีกระทำต่อคอมพิวเตอร์ ม.๕: การเข้าถึงระบบคอมฯ ม.๖: การล่วงรู้มาตรการการป้องกันการเข้าถึง ม.๗: การเข้าถึงข้อมูลคอมฯ ม.๘: การดักรับข้อมูลคอมฯ ม.๙: การรบกวนข้อมูลคอมฯ ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๓: การจำหน่าย/ เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด

กรณีใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด ม.๑๑: Spam mail ม.๑๔: การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม ม.๑๕: ความรับผิดของผู้ให้บริการ ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ/ดัดแปลง

มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ง ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องให้ระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่น จัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือ บางส่วนซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๓ ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ มาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา ๑๑สแปมเมล์ (Spam Mail) กรณีใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด มาตรา ๑๑สแปมเมล์ (Spam Mail) ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

มาตรา ๑๔นำเข้า ปลอม/ เท็จ /ภัยมั่นคง /ลามก/ ส่งต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน

(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง แห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)

มาตรา ๑๖การเผยแพร่ภาพ ตัดต่อ/ดัดแปลง มาตรา ๑๖ ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย

ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้ อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิดความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย

รูปแบบการกระทำความผิด (Information Security) ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย ฐานความผิด สปายแวร์ (Spyware) สนิฟเฟอร์ (Sniffer) - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet มาตรา ๕ เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๖ เปิดเผยมาตรการป้องกันระบบ มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service) มาตรา ๙ รบกวน/ทำลาย ข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐ รบกวน/ทำลาย ระบบคอมพิวเตอร์ สแปม (Spamming) รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ตามปกติ อาจถึงขั้นทำให้เป็น Zombie มาตรา ๑๑ การทำสแปม การกระทำความผิดข้างต้น - ผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ หรือทางเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การบริการสาธารณะ อาจเกิดสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare) มาตรา ๑๒ เหตุฉกรรจ์ อันเกิดจากการกระทำข้างต้น

รูปแบบการกระทำความผิด (Information Security) ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย ฐานความผิด สปายแวร์ (Spyware) สนิฟเฟอร์ (Sniffer) - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet มาตรา ๑๓ การจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service) มาตรา ๑๔ การนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม, เท็จ หรือไม่เหมาะสม หรือการส่งต่อข้อมูล (forward) นั้น การโพสต์หรือนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามมาตรา ๒๔ ความเสียหายกับบุคคลอื่น มาตรา ๑๕ ความรับผิดฐานสนับสนุนการกระทำความผิดของผู้ให้บริการ การตัดต่อภาพ ผู้ถูกกระทำถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพ เป็นเหตุให้ถูก ดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๕ เข้าถึงคอมฯ โดยมิชอบ มาตรา ๕ เข้าถึงคอมฯ โดยมิชอบ ไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 10,000 มาตรา ๖ ล่วงรู้มาตรการป้องกัน ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลโดยมิชอบ ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 40,000 มาตรา ๘ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 มาตรา ๙ การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ - - ไม่เกิน 10 ปี 3 - 15 ปี มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ ไม่เกิน 100,000 - มาตรา ๑๒(๑) ก่อความเสียหายแก่ข้อมูล ไม่เกิน 10 ปี (และ) ไม่เกิน 200,000 มาตรา ๑๒(๒) กระทบความมั่นคง 3 - 15 ปี 60,000 - 300,000 มาตรา ๑๒ เป็นเหตุให้เสียชีวิต 10 – 20 ปี - มาตรา ๑๓ จำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 มาตรา ๑๔ เผยแพร่เนื้อหาไม่เหมาะสม ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๑๕ ความรับผิดของผู้ให้บริการ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000

แหล่งอ้างอิง http://www.opel.in.th/index.php?topic=2692.0 http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg http://www.opel.in.th/index.php?topic=2692.0 http://thai-cybercrime.blogspot.com/search/label http://www.siamintelligence.com/massenger-cyber/

ท่านผู้รับชมและศึกษาทุกท่านครับ