Introduction to Database

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
Advertisements

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
Object-Oriented Analysis and Design
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
Creating Effective Web Pages
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
Databases Design Methodology
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
Chapter 8 : การควบคุมความปลอดภัย (Security Control)
Chapter 2 Database systems Architecture
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้พื้นฐานในการออกแบบ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บูรณภาพของข้อมูล ลัชนา อินชัยวงศ์.
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
System Integration.
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
Memory Management ในยุคก่อน
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
Data Modeling Chapter 6.
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
System Analysis and Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
Week 5 Online available at
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
Chapter 1 : Introduction to Database System
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
Lightweight Directory Access Protocol
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Database Week 2 Online available at http://www.ict.pyo.nu.ac.th/somporns/db

Contents สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล ระดับภายใน (Internal Level) ระดับแนวคิด (Conceptual Level) ระดับภายนอก (External Level) สคีมา (Schema) การแปลงรูป (Mapping) และ อินสแตนซ์ (Instance) ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture) เป็นแนวคิดที่แสดงถึงโครงสร้างของระบบฐานข้อมูล เกิดขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1971 โดย DBTG (Data Base Task Group) ซึ่งกำหนดสถาปัตยกรรมไว้ 2 ระดับ คือ Schema เป็นมุมมองของระบบ (System View) Subschema เป็นมุมมองของผู้ใช้งาน (User View)

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (Database Architecture) ต่อมาปี ค.ศ. 1975 สถาบัน ANSI-SPARC ได้กำหนดสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลขึ้นใหม่ โดยมี 3 ระดับ คือ ระดับภายใน (Internal Level) ระดับแนวคิด (Conceptual Level) ระดับภายนอก (External Level) ถึงแม้โมเดล ANSI-SPARC ไม่ใช่โมเดลมาตรฐาน แต่ก็เป็นโมเดลที่กำหนดหน้าที่การทำงานแต่ละส่วนของระบบฐานข้อมูลให้มีความชัดเจนและเข้าใจง่ายมากขึ้น

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล 3 ระดับ ของ ANSI-SPARC View 1 View 2 View n . . . Conceptual Schema Internal Database User 1 User 2 User n External Level Physical data organization

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล : 1. ระดับภายใน (Internal Level) เป็นระดับที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บข้อมูลในระดับกายภาพ (physical) ผู้ใช้งานฐานข้อมูลจะมองไม่เห็นถึงรายละเอียดในระดับนี้ได้ จุดประสงค์หลักของการจัดโครงสร้างข้อมูลในระดับนี้ก็เพื่อให้การจัดการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เน้นความเร็วในการปฏิบัติงาน

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล : 1. ระดับภายใน (Internal Level) ซึ่งการออกแบบในระดับนี้มักคำนึงถึง รูปแบบโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลอย่างไรในฐานข้อมูล (HOW) เช่น โครงสร้างแบบลำดับตามดัชนี บีทรี หรือ พอยน์เตอร์ ซึ่งโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล จะมีผลต่อประสิทธิภาพและความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล การบีบอัดข้อมูล (data compression) การเข้ารหัสข้อมูล (data encryption)

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล : 2. ระดับแนวคิด (Conceptual Level) เป็นโครงสร้างหลักของระบบ บางทีเรียกสถาปัตยกรรมระดับตรรกะ หรือ Logical Level เน้นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล หรือ เน้นแบบจำลองข้อมูล (data model) เป็นระดับที่อธิบายถึงว่า ข้อมูลอะไร (WHAT) ที่จะจัดเก็บลงฐานข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล บุคคลที่สามารถเข้าไปแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับนี้ คือ ผู้บริหารฐานข้อมูล (data administrators) หรือ โปรแกรมเมอร์ (programmer)

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล : 2. ระดับแนวคิด (Conceptual Level) โดยจะมีความเกี่ยวข้องกับ จำนวนเอนทิตี้ (Entity) ทั้งหมด คุณสมบัติหรือแอทริบิวต์ของเอนทิตี้ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ กฎเกณฑ์ข้อมูล ความปลอดภัยของข้อมูล(data security) ความคงสภาพของข้อมูล (data integrity)

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล : 3. ระดับภายนอก (External Level) เป็นระดับที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้งานมากที่สุด โดยความเป็นจริง โครงสร้างข้อมูลระดับนี้ คือ บางส่วนของข้อมูลในฐานข้อมูล (ซึ่งอยู่ในระดับแนวคิดหรือตรรกะหรือlogical) ผู้ใช้ในระดับนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นโครงสร้างข้อมูลทั้งหมด แต่สามารถเรียกใช้งานข้อมูลตามที่ต้องการได้ เช่น ต้องการรู้ว่านิสิต A อยู่สาขาใด ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบโครงสร้างข้อมูลของนิสิตและสาขา แต่ต้องการทราบเพียง รหัส ชื่อ-นามสกุล รหัสสาขา และชื่อสาขา เท่านั้น เป็นต้น

สคีมา (Schema) การแปลงรูป (Mapping) และอินสแตนซ์ (Instance) รายละเอียดโครงสร้างฐานข้อมูลในระบบ เรียกว่า database schema หรือ โครงร่างฐานข้อมูล database schema บอกถึงรายละเอียดในโครงสร้างฐานข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูลในแต่ละเอนทิตี้ โครงสร้างฐานข้อมูลอาจมีการเปลี่ยนแปลง แต่ข้อมูลจริงๆในฐานข้อมูลอาจมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล เรียกว่า database instance หรือ extension หรือ state

สคีมา (Schema) การแปลงรูป (Mapping) และอินสแตนซ์ (Instance) ระดับสูงสุดหรือ โครงร่างระดับภายนอก (External Level) เรียกว่า External Schema หรือ subschema ระดับแนวคิด หรือ โครงร่างระดับแนวคิด (Conceptual Level) เรียกว่า Conceptual Schema ระดับต่ำสุด หรือโครงร่างระดับภายใน (Internal Level) เรียกว่า Internal Schema

สคีมา (Schema) การแปลงรูป (Mapping) และอินสแตนซ์ (Instance) ฐานข้อมูลหนึ่งฐานข้อมูล จะมี โครงร่างระดับแนวคิด (Conceptual Schema) เพียง 1 โครงร่าง แต่มีโครงร่างภายนอก External Level) หรือ External Schema ได้หลายๆ โครงร่าง User Schema จะอยู่ในระดับ โครงร่างระดับภายนอก (External Level) หรือ External Schema ที่ผู้ใช้งานสามารถมองเห็นข้อมูลได้หลายๆ รูปแบบ ที่เรียกว่า View

สคีมา (Schema) การแปลงรูป (Mapping) และอินสแตนซ์ (Instance) DBMS จะตอบสนองการแปลงรูประหว่างสคีมาทั้งสาม คือ External Schema, Conceptual Schema และ Internal Schema และจะตรวจสอบความถูกต้องตรงกัน ซึ่งเรียกว่า การแปลงรูป (Mapping) การแปลงรูปมี 2 แบบ คือ การแปลงรูประหว่างสคีมาระดับภายนอกกับสคีมาระดับแนวคิด การแปลงรูประหว่างสคีมาระดับแนวคิดกับสคีมาระดับภายใน

สคีมา (Schema) การแปลงรูป (Mapping) และอินสแตนซ์ (Instance) salary age LName FName SNo BranchNo staffNo branchNo Salary DOB StaffNo External View 1 External View 2 Conceptual Level Internal Struct STAFF{ int staffNo; int branchNo; char fName; char lName; struct date dateOfBirth; float salary; struct STAFF *next; }; Index staffNo; index branchNo;

ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) วัตถุประสงค์ของสถาปัตยกรรม 3 ระดับ คือ การให้อิสระในข้อมูล ซึ่งแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ความเป็นอิสระของข้อมูลทางตรรกะ (Logical Data Independence) ความเป็นอิสระของข้อมูลทางกายภาพ (Physical Data Independence)