อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
Laboratory in Physical Chemistry II
เอกสารเคมี Chemistry Literature
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
บทปฏิบัติการที่ 2 การผลิตเอนไซม์อินเวอร์เทส
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
Decision Limit & Detection Capability.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ความหมายของสิทธิบัตร
ความร่วมมือเครือข่ายภาคอีสาน กับคุณภาพนมโรงเรียนปี 2553
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
************************************************
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
การผลิตสารประกอบอินทรีย์จากลำไยอบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล ด้วยจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในสภาวะตั้งนิ่ง (The Production of Organic Compounds from Expired Dried.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
จัดทำโดย.... นายสุรัตน์ ธารไชย รหัส นางสาวสลิลนิลพงษ์ รหัส ดร. ยงยุทธเฉลิมชาติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
วันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 5 วิถีวิจัย : ทศวรรษ ที่ 5 สู่ความเป็นเลิศ ตติยา คำทิพย์, ฐิติพร ก้านบัว, พนิตนันท์ สิทธิมูล,
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สารสกัดจากก้านเห็ดหอมแห้งที่มีเลนไธโอนีนเป็นส่วนประกอบ
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์
ชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
การผลิตเอทานอลและมวลชีวภาพสำหรับ กระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่น จากจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในสภาวะตั้งนิ่ง Production of Ethanol and Biomass for Biotransformation.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ อ. สุภเวท มานิยม.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ “การผลิต R-phenylacetylcarbinol และสารผลิตภัณฑ์ข้างเคียงด้วยลำไยอบแห้ง ในระบบเบนซาลดีไฮด์อิมัลชั่น ” รายชื่อคณะผู้จัดทำ นาวสาวพูนศิริ พระทอง รหัส 4713099 นางสาวอุทุมพร อภิวงค์งาม รหัส 4713109 นางสาวกิติยา แลวงศ์นิล รหัส 4713080 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์

ความสำคัญและที่มาของโครงงาน ลำไยสดมีคาร์โบไฮเดรต 25%(w/w) รวมถึงโปรตีนและวิตามินต่างๆ ที่เอื้อต่อการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ในการหมัก เมื่อผ่านการทำแห้ง ความเข้มข้นของน้ำตาลจะเพิ่มขึ้นเพราะความชื้นถูกกำจัดออกไปมาก ทั้งนี้ยังขึ้นกับปฏิกิริยาเมลลาร์ด (Maillard reaction) ณ อุณหภูมิสูง (> 65OC) ที่เปลี่ยนน้ำตาลและกรดอะมิโนเป็นเมลานอยดินส์ (melanoidins) ปัญหาการกำจัดลำไยอบแห้งตกเกรดหรือหมดอายุที่ยังขาดประสิทธิภาพ และการขาดแคลนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำลำไยอบแห้งที่ขายไม่ได้ไปทำประโยชน์ต่อ เช่น ผลิตสารเคมี R-PAC สำหรับยาบรรเทาอาการหวัดอย่าง pseudoephedrine ทั้งที่ลำไยเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงเป็นที่มาของโครงการวิจัยนี้

บทนำ

บทนำ

วัตถุประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาการเจริญของกล้าเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในอาหารเลี้ยงปริมาตร 10 ml ที่มีกลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน โดยใช้เวลาเพาะเลี้ยง 72 ชั่วโมง ณ 25.6OC แล้วนำผลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับทีมวิจัย ของกลุ่มฐิติพรและคณะ (24 h) และ พรรณทิวาและคณะ (48 h) จากนั้นจึงเลือกเวลาเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมที่สุด เพื่อศึกษาการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในอาหารเลี้ยงปริมาตร 100 ml ที่มีสารสกัดจากลำไยอบแห้งเป็นแหล่งอาหารคาร์บอนเพียงอย่างเดียว เพาะเลี้ยง เป็นเวลา 48 ชั่วโมง ณ 25.6OC นำมวลชีวภาพที่ได้จาการทดลองที่ 2 ไปใช้ผลิต R-phenylacetylcarbinol จากไพรูเวตและเบนซาลดีไฮด์ สำหรับระบบเบนซาลดีไฮด์อิมัลชั่น ในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ความเข้มข้นต่างๆ

วิธีการทดลอง การทดลองที่ 1 เพาะเลี้ยงกล้าเชื้อเป็นเวลา 72 ชั่วโมง เพาะเลี้ยงกล้าเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีกลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน ทำการวิเคราะห์ มวลแห้ง pH น้ำตาลกลูโคส เอทานอล กรดอะซิติก และ กรดซิตริก ด้วย HPLC

วิธีการทดลอง การทดลองที่ 2

วิธีการทดลอง (การเก็บตัวอย่างสำหรับการทดลองที่ 2)

วิธีการทดลอง การทดลองที่ 3 ศึกษาผลกระทบของความเข้มข้นสารละลายฟอสเฟต 4 ระดับ (0, 300, 600 และ 900 mM)(10 ml) ต่อระดับการผลิต PAC จาก S. cerevisiae TISTR No. 5606 และ 5020, Z. mobilis TISTR No. 550 และ C. utilis TISTR No. 5198 (102.75 g มวลแห้ง/ L ) ในสภาวะที่มีเบน-ซาลดีไฮด์ความเข้มข้น 150 mM (0.159 g ) โซเดียมไพรูเวตความเข้มข้น 180 mM (0.198 g ) TPP ความเข้มข้น 1 mM (0.0046 g ) MgSO4.7H2O ความเข้มข้น 1 mM ((0.0025 g ) ตั้งนิ่งทิ้งไว้ 8 ชั่วโมง อุณหภูมิ 4 OC โดยแต่ละการทดลองทำซ้ำ 2 ครั้ง หยุดการทดลองด้วย 100%(w/v) TCA ปริมาตร 1 ml แล้วเก็บรักษาไว้ตู้แช่เยือกแข็งอุณหภูมิ -20 OC

เลี้ยงกล้าเชื้อเป็นเวลา 72 ชั่วโมง โดยใช้กลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน ผลการทดลอง เลี้ยงกล้าเชื้อเป็นเวลา 72 ชั่วโมง โดยใช้กลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน

เลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 48 ชั่วโมง โดยมีสารสกัดจากลำไยอบแห้ง ผลการทดลอง เลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 48 ชั่วโมง โดยมีสารสกัดจากลำไยอบแห้ง เป็นแหล่งอาหารคาร์บอน

ตัวอย่างโครมาโตแกรม 0 h S. cerevisiae TISTR 5020 48 h fructose sucrose glucose S. cerevisiae TISTR 5020 ethanol 48 h fructose Propanoic acid sucrose Acetic acid

ตัวอย่างโครมาโตแกรม 0 h S. cerevisiae TISTR 5606 48 h fructose sucrose glucose S. cerevisiae TISTR 5606 ethanol 48 h fructose Propanoic acid sucrose Acetic acid

ผลการทดลองไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นในระบบเบนซาลดีไฮด์อิมัลชั่น กำลังอยู่ในระหว่างการวิเคราะห์ ค่ากิจกรรมการทำงานของ PDC ด้วย spectrophotometric decarboxylase assay ไพรูเวต และ อะเซตาลดีไฮด์ ใช้เครื่อง spectrophotometer กรดเบนโซอิก และ สาร PAC ด้วย HPLC C8 อะเซโตอิน ด้วยเครื่อง HPLC HPX 87H pH ด้วย pH meter

สรุปผลการทดลอง ลำดับของจุลินทรีย์ในแหล่งอาหารคาร์บอนมีกลูโคสที่ผลิตเอทานอลได้มากที่สุดในหน่วย g/l และ Yps ภายหลังการเพาะเลี้ยงกล้าเชื้อ 72 h ได้แก่ Z. mobilis TISTR 405 (10.6  0.53, 0.54  0.04) S. cerevisiae TISTR 5020 (4.54  0.23, 0.45  0.03) S. cerevisiae TISTR 5606 (3.56  0.18, 0.44  0.04) E. coli TISTR 1261 ผลิตเอทานอลได้ถึง 4.18  0.21 g/l แม้จะไม่มีแหล่งอาหารคาร์บอนใน nutrient medium ในกรณีใช้แหล่งอาหารคาร์บอนเป็นสารสกัดจากลำไยอบแห้งเพียงอย่างเดียว ลำดับการผลิตเอทานอลสามอันดับแรก (g/l) ภายหลังการเพาะเลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 48 h ดังต่อไปนี้ * S. cerevisiae TISTR 5020 ( 45.0  6.1 ) * S. cerevisiae TISTR 5606 ( 37.8  3.1 ) Z. mobilis TISTR 550 ( 28.4  5.1 ) * ทดสอบโดย Skoog et al. 1996 พบว่าค่าเฉลี่ยที่ได้ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

Q&A