4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
Advertisements

บรรยากาศ.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
Chapter 4 Well logging methods and interpretation
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
(Structure of the Earth)
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
น้ำและมหาสมุทร.
ท่าเทียบเรือศรีบ้านเพ
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
Lab 4: Kunzelstab Penetration Test
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
เครื่องดูดฝุ่น.
ลิฟต์.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
ตราด.
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
2.ระบบพืชบำบัดน้ำเสีย พืชกรองน้ำเสีย ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
การหักเหของแสง (Refraction)
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปิโตรเลียม.
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
Facies analysis.
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
Class Polyplacophora.
Fracture system. โดยธรรมชาติ รอยแตก (fracture) เกิดขึ้น เนื่องจาก tension หรือ shear stress ใน หินที่แตกหักง่ายไม่มีความยืดหยุ่น ความ รุนแรงของการแตกขึ้นอยู่กับความรุนแรง.
ห้องปราศจากเชื้อ ( Protective Environment )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน

ความดันในชั้นหินเป็นความดันที่เกิดจากของเหลวและก๊าซในชั้นหินอยู่ในสภาพกดอัด (formation pressure) ส่วนความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลนขึ้นอยู่กับความลึกและความหนาแน่นของน้ำโคลน โดยปกติในการเจาะหลุมควรพยายามให้ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลนมีค่ามากกว่าความดันในชั้นหินเล็กน้อย

น้ำโคลนในหลุมเจาะซึ่งอยู่ภายใต้สภาวะแรงดันที่มากกว่าความดันภายในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ เพื่อใช้ป้องกันแรงดันภายในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ที่จะดันให้หัวเจาะและเครื่องมือที่ปากหลุมเจาะเกิดการเสียหาย เมื่อหัวเจาะเจาะผ่านชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ (permeable formation) จะเกิดการแทรกตัว (invasion) ของน้ำโคลนเข้าไปในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้

ส่วนผสมในน้ำโคลนซึ่งเป็นของแข็งจะเกิดการสะสมตัวเกาะอยู่ที่ผนังหลุมเจาะบริเวณที่เป็นชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ซึ่งเรียกว่า mud cake ส่วนที่เป็นของเหลวซึ่งเรียกว่า mud filtrate จะไหลเข้าไปในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ดันให้ของไหลที่เคยอยู่ในชั้นหินกักเก็บเดิม ไหลลึกเข้าไปในชั้นหิน

บริเวณภายในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ที่ mud filtrate เข้าไปแทนที่ของไหลเรียกบริเวณนี้ว่า invasion zone เมื่อเวลาผ่านไป mud cake ที่เกาะอยู่ที่ผนังของหลุมเจาะจะมีความหนามากขึ้นจนทำให้การไหลของ mud filtrate เข้าไปในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้น้อยลง

ความลึกที่ mud filtrate สามารถไหลเข้าไปในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่สำคัญได้แก่ สมบัติของน้ำโคลน และ ความแตกต่างระหว่างค่าความดันของน้ำโคลนในหลุมเจาะและความดันภายในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้

บริเวณที่เกิดการแทรกตัวของน้ำโคลน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ flushed zone และ transition zone

ส่วนที่เรียกว่า flushed zone เป็นส่วนที่ของไหลเดิมที่เคยอยู่ในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ทั้งหมดถูกแทนที่ด้วย mud filtrate ส่วนที่เรียกว่า transition zone เป็นส่วนที่ของไหลเดิมที่เคยอยู่ในชั้นหินน้ำซึมผ่านได้บางส่วนถูกแทนที่ด้วย mud filtrate ถัดจากส่วนที่เป็น invasion zone ซึ่งเป็นบริเวณที่ mud filtrate ไม่สามารถแทรกผ่านเข้าไปได้เรียกว่า virgin zone

โดยปกติแอ่งสะสมตะกอน จะแสดงลักษณะการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิตามความลึก การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิมักแสดงอยู่ในรูปของ gradient มีหน่วยเป็น OC/100 m หรือ OC/km โดยทั่วไปในแอ่งสะสมตะกอนมีค่า gradient อยู่ระหว่าง 20 ถึง 35 OC/km

ในระหว่างที่มีการเจาะ น้ำโคลนซึ่งทำหน้าที่ระบายความร้อนให้กับหัวเจาะนั้น ยังมีส่วนทำให้อุณหภูมิรอบๆหลุมเจาะลดลงด้วยจนถึงจุดสมดุลย์ระหว่างอุณหภูมิของชั้นหินและอุณหภูมิของน้ำโคลน

หลุมเจาะที่พร้อมจะทำการหยั่งธรณีในหลุมเจาะควรมีสมบัติดังนี้ 1. ความลึกเฉลี่ยประมาณ 6,000 ฟุต แต่อาจอยู่ระหว่าง 1,000 ถึง 20,000 ฟุต 2. เส้นผ่าศูนย์กลางหลุมเจาะประมาณ 9 นิ้ว แต่อาจมีค่าระหว่าง 5 ถึง 15 นิ้ว 3. หลุมเจาะอาจทำมุมเอียงจากแนวดิ่ง 0-5 องศาสำหรับหลุมบนบก และ 20-40 องศาในทะเล

4. อุณหภูมิที่ก้นหลุมเฉลี่ยประมาณ 150 OF แต่อาจอยู่ระหว่าง 100 ถึง 350 OF 5. ความเค็มของน้ำโคลนมีค่าเฉลี่ย 10,000 ppm แต่อาจมีค่าระหว่าง 3,000 ถึง 200,000 ppm 6. น้ำหนักของน้ำโคลนมีค่าเฉลี่ยประมาณ 11 lb/gal แต่อาจอยู่ระหว่าง 9 ถึง 16 lb/gal 7. ความดันที่ก้นหลุมเฉลี่ยประมาณ 3,000 psi แต่อาจอยู่ระหว่าง 500 ถึง 15,000 psi

8. ความหนาของ mud cake ที่ผนังหลุมเจาะในบริเวณชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ มีค่าประมาณ 0.5 นิ้ว แต่อาจอยู่ระหว่าง 0.1 ถึง 1 นิ้ว 9. น้ำโคลนอาจแทรกเข้าไปในชั้นหินได้ลึกเพียง 0.1 นิ้วหรืออาจลึกได้ถึง 3 ฟุตจากผนังหลุมเจาะ