ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก บรรยายโดย นายกรีฑาพล เชษฐตระกูล
การหมุนเวียนเกี่ยวกับปริมาณความร้อน (Thermal Circulation) ความร้อนเป็นสาเหตุที่ทำให้คอลัมน์ของอากาศขยายตัวในแนวตั้ง ความกดอากาศสูงจะอยู่ในคอลัมน์อากาศระดับบน อากาศในระดับบนมีการเคลื่อนที่จากบริเวณที่ร้อนมากกว่าไปยังที่เย็นกว่า ลักษณะของความกดอากาศใกล้ผิวพื้นจะเป็นบริเวณที่ร้อนมาก ในบริเวณที่ร้อน อากาศจะยกตัวขึ้น ส่วนบริเวณที่เย็นอากาศจะจมตัวลง
โลกและดวงอาทิตย์
การแบ่งชั้นบรรยากาศโลก ตามโครงสร้างการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแนวดิ่ง ชั้นโทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นเมโสสเฟียร์ ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ ชั้นเอ็กโซสเฟียร์ มีความสูงตั้งแต่ 500 กม. ขึ้นไปถึงส่วนบนสุดของบรรยากาศซึ่งมีขอบเขตที่ไม่แน่นอน ส่วนใหญ่ประกอบด้วยแก๊สนานาชนิด เป็นชั้นที่ไม่มีผลทางอุตุนิยมวิทยา
การหมุนของโลกรอบดวงอาทิตย์ http://www.gwit.org/students/fremont/assign/seasons/season_multiview.swf
โลกของเรา ที่มาภาพ : http://www.123rf.com/photo_12761136_earth-globe-cloud-map-side-of-the-asia-and-australia.html
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง พายุหมุนเขตร้อน ชนิดพายุ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง มาตรา โบฟอร์ด ลักษณะอากาศที่เกิด พายุดีเปรสชัน น้อยกว่า 63 กม./ชม. <=7 ต้นไม้โยก เดินต้านลมไม่สะดวก ความสูงคลื่นประมาณ 4.0 - 6.0 เมตร พายุโซนร้อน ตั้งแต่ 63 กม./ชม. แต่น้อยกว่า 118 กม./ชม. 8 กิ่งไม้หัก เดินไปข้างหน้าไม่สะดวก ความสูงคลื่นประมาณ 6.0 - 9.0 เมตร 9 สิ่งก่อสร้างเสียหายเล็กน้อย 10 ต้นไม้ถอนราก สิ่งก่อสร้างเสียหายมาก ความสูงคลื่นประมาณ 9.0 - 14 เมตร 11 สิ่งก่อสร้างเสียหายเป็นบริเวณกว้าง ความสูงคลื่นมากกว่า 14 เมตร พายุไต้ฝุ่น ตั้งแต่ 118 กม./ชม. ขึ้นไป 12-17 สิ่งก่อสร้างเสียหายหนัก
สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก ขอบคุณ ข้อมูลเพิ่มเติม www.tmd.go.th ข่าวพยากรณ์อากาศทางสถานีโทรทัศน์ทุกช่อง