วัตถุมวล 10 kg วางอยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตย์ 0.8 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ 0.3 10 kg µ s = 0.8 µ k = 0.3 จงเขียนโปรแกรมซึ่งรับค่าขนาดของ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
สรุปคำสั่ง if(เงื่อนไข)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
การเขียนผังงาน.
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
เฉลย Lab 10 Loop.
Program Flow Chart.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
งานและพลังงาน (Work and Energy).
รหัสเทียม (Pseudo Code)
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
1 นายทินวัฒน์ พงษ์ทองเมือง. 2 การเปิดให้ Program ทำงาน 3  p:\xampplite\ xampplite-control.exe  Start Apache.
Flow Control.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Flowchart Drawing By DIA
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
LOGO SCCS031 Principle of Computer Programming Thinaphan Nithiyuwith Program of Computer Science & Information Technology suchada/
Chapter 6 Decision Statement
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
เครื่องมือที่ใช้ในการกำหนดการเคลื่อนไหว
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม โดย อ.วัชระ การสมพจน์
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
หลักการทำ Animation แบบง่ายๆ
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนผังงาน (Flowchart)
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
การวนทำซ้ำ do การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ until ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) while ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ endwhile.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) บทที่ 2: ทบทวนการเขียน ภาษา Java ใช้ร่วมกับ Html และการรับข้อมูลจาก Form.
Chapter 05 Selection structure ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
การสร้าง function ( โปรแกรมย่อย ) function output = FunctionName (input1, input2, …) การทำงานภายในฟังก์ชัน Editor วิธีเขียน - ต้องขึ้นต้นด้วยคำว่า function.
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การสร้างผังงานโปรแกรม
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุมวล 10 kg วางอยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตย์ 0.8 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ kg µ s = 0.8 µ k = 0.3 จงเขียนโปรแกรมซึ่งรับค่าขนาดของ แรง F จากคีย์บอร์ด แล้วนำมาพิจารณา ว่าทำให้วัตถุเคลื่อนที่หรือไม่ ถ้าหากเคลื่อนที่จะมีความเร่งเป็นเท่าไร F

10 kg µ s = 0.8 µ k = 0.3 F mg N f = µN พิจารณา ถ้า F ≤ f s (f s =µ s N) ไม่เคลื่อนที่ ( ความเร่ง = 0) แต่ถ้า F > f s (f s =µ s N) เคลื่อนที่ แล้วจาก F - µ k N = ma ดังนั้น a = (F - µ k N)/m

Flowchart Start / Stop การ คำนวณ การรับค่า / การแสดงผล การพิจารณา เงื่อนไข 1 A จุดต่อใน หน้า เดียวกัน 1 A จุดต่อใน หน้า ต่างกัน

Start รับค่า F F ≤ f s คำนวณ N = mg f s =µ s N แสดง ข้อความ “at rest” คำนวณ a = (F - µ k N)/m กำหนด m = 10 [kg], g = 9.8 [m/s 2 ] µ s = 0.8, µ k = 0.3 A A แสดง ข้อความ “a = ” ค่า ของ a Stop yes no

Start รับค่า F คำนวณ N = mg f s =µ s N กำหนด m = 10 [kg], g = 9.8 [m/s 2 ] µ s = 0.8, µ k = 0.3 A

F ≤ f s แสดง ข้อความ “at rest” คำนวณ a = (F - µ k N)/m แสดง ข้อความ “a = ” ค่า ของ a Stop yes no A

โปรแกรม clear all; m = 10; g = 9.8; us = 0.8; uk = 0.3; F = input(“F = ?”); N = m*g; fs = us*N; if (F <= fs) disp(“at rest”); else a = (F – uk*N) / m; disp(“a = “); disp(a); endif;

จงสร้างโปรแกรมสำหรับคำนวณระยะเว้นในงานสวม เพลากับรูเพลา โดยสามารถป้อนค่าขนาดสูงสุดและต่ำสุดของเพลา และรูเพลาได้ ซึ่งจะป้อนค่าสูงสุดหรือต่ำสุดก่อนก็ได้ แล้วจากนั้นคำนวณระยะเว้น ระยะเว้น (1) = Max size (Hole) – Min size (Shaft) (2) = Min size (Hole) – Max size (Shaft) ถ้าระยะเว้นเป็นบวกทั้งคู่ ให้แสดงข้อความว่าเป็น Clearance Fit และแสดงค่า Max Clearance กับ Min Clearance ถ้าระยะเว้นเป็นลบทั้งคู่ ให้แสดงข้อความว่าเป็น Interference Fit และแสดงค่า Max Interference กับ Min Interference ถ้าระยะเว้นเป็นบวกกับลบ ให้แสดงข้อความว่าเป็น Transition Fit และแสดงค่า Max Clearance กับ Max Interference

s1 = input("shaft size 1"); s2 = input("shaft size 2"); if(s1>s2) smax = s1; smin = s2; else smax = s2; smin = s1; endif h1 = input("hole size 1"); h2 = input("hole size 2"); if(h1>h2) hmax = h1; hmin = h2; else hmax = h2; hmin = h1; endif c1 = hmax - smin; c2 = hmin - smax; if ((c1>=0)&&(c2>=0)) disp(“clearance"); elseif ((c1<0)&&(c2<0)) disp("interferance"); else disp(“transition”); endif disp(“c1 = ”); disp(c1); disp(“c2 = ”); disp(c2);

s1 = input("shaft size 1"); s2 = input("shaft size 2"); if(s1>s2) smax = s1; smin = s2; else smax = s2; smin = s1; endif h1 = input("hole size 1"); h2 = input("hole size 2"); if(h1>h2) hmax = h1; hmin = h2; else hmax = h2; hmin = h1; endif c1 = hmax - smin; c2 = hmin - smax; if ((c1>=0)&&(c2>=0)) if(c1>c2) disp("max clearance"); disp(c1); disp("min clearance"); disp(c2); else disp("max clearance"); disp(c2); disp("min clearance"); disp(c1); endif elseif ((c1<0)&&(c2<0)) if(c1<c2) disp("max interferance"); disp(c1); disp("min interferance"); disp(c2); else disp("max interferance"); disp(c2); disp("min interferance"); disp(c1); endif else if(c1>c2) disp("max clearance"); disp(c1); disp("max interferance"); disp(c2); else disp("max clearance"); disp(c2); disp("max interferance"); disp(c1); endif

clear all; myID = รหัส 2 หลักสุดท้ายของ ตัวเอง ; disp(myID); leftID = รหัส 2 หลักสุดท้ายของคน ซ้าย ; disp(leftID); rightID = รหัส 2 หลักสุดท้ายของคน ขวา ; disp(rightID); if (myID >= leftID) && (myID > rightID) disp(‘in case 1’); elseif (myID < leftID) || (myID < rightID) disp(‘in case 2’); elseif (myID < leftID) disp(‘in case 3’); end;

clear all; a = รหัส 2 หลักสุดท้ายของตัวเอง ; disp(a); b = รหัส 2 หลักสุดท้ายของคนซ้าย ; disp(b); c = รหัส 2 หลักสุดท้ายของคนขวา ; disp(c); if (a > b) || (a > c) disp(“in case 1”); elseif (a > b) || (a < c) disp(“in case 2”); elseif (a c) disp(“in case 3”); elseif (a < b) || (a < c) disp(“in case 4”); end;

clear all; a = รหัส 2 หลักสุดท้ายของ ตัวเอง ; disp(a); b = รหัส 2 หลักสุดท้ายของคน ซ้าย ; disp(b); c = รหัส 2 หลักสุดท้ายของคน ขวา ; disp(c); if (a > b) || (a = b) disp(“case 1”); elseif (a < b) disp(“case 2”); endif; disp(a); if (a < b) || (a = c) disp(“case 3”); disp(a); endif; disp(a);