SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
สกลนครโมเดล.
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
Service Plan 10 สาขา ๑) หัวใจและหลอดเลือด Ac. STEMI Ac.Cerebral Infaction ๒) ทารกแรกเกิด ๓) มะเร็ง ๔) อุบัติเหตุ ๕) ๕ สาขาหลัก( อายุรกรรม,ศัลยกรรม,ศัลยกรรมกระดูก,สูตินรีเวชกรรม,กุมารเวชกรรม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ ป้อม พันธุ์พรหม นักกายภาพบำบัด รพ. บึงกาฬ 18 พ.ย. 56

มาตรฐาน: ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าจะให้การดูแลในการบริการเฉพาะที่สำคัญ อย่างทันท่วงที ปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพ

ประเด็นคุณภาพ/ความเสี่ยงที่สำคัญ: การฟื้นฟูสภาพ ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยอย่างเหมาะสม ตามสภาวะผู้ป่วยแต่ละราย ให้สามารถดูแลตัวเอง ได้ดีขึ้น

ข้อมูลตัวชี้วัด เป้าหมาย 2553 2554 2555 2556 (ต.ค.-มิ.ย.) ร้อยละผู้ป่วยเด็กพัฒนาการช้า ที่ได้รับการฟื้นฟู สภาพ ร้อยละ 80 NA 100 (44 คน) ร้อยละผู้ป่วย Fracture of LE หลังผ่าตัดได้รับ การฟื้นฟูสภาพ 92.77 (77/83) ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ( CVA) ได้รับ การฟื้นฟูสภาพ 33.47 (161/481) ร้อยละผู้ป่วย/ผู้พิการที่ได้รับการเยี่ยมบ้านมี คะแนน The Barthel Index of Activity of Daily Living เพิ่มขึ้น 50 (10/20) ร้อยละผู้ป่วยเด็กระบบทางเดินหายใจที่ได้รับการ ฟื้นฟูสภาพปอด 20.16 (144/714) ร้อยละผู้พิการทางการเห็นที่ได้รับการฟื้นฟูโดย เข้ารับการฝึกอบรมทักษะด้านการทำ ความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการ เคลื่อนไหว (O M) มีคุณภาพชีวิตที่ขึ้น (50 คน)

บริบท: กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับฟื้นฟูสภาพ: ประกอบด้วย 4 สาขาหลักคือ สูติ-นารีเวชกรรม: ผู้ป่วยก่อนและหลังคลอด ศัลยกรรม: ผู้ป่วย Fracture of LE หลังผ่าตัด อายุรกรรม: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (CVA) กุมารเวชกรรม: ผู้ป่วยพัฒนาการช้าและระบบทางเดินหายใจ นอกจากนี้ยังมีการให้บริการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย/ผู้พิการในชุมชน และ ฟื้นฟูผู้พิการทางการเห็นโดยการฝึกอบรมทักษะด้านการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (O&M)

กระบวนการ

บทเรียนเกี่ยวกับการเข้าถึง การขยายความครอบคลุม ในการให้บริการฟื้นฟูสภาพ แพทย์ ส่งปรึกษานักกายภาพบำบัดเรื่องการฟื้นฟูสภาพ นักกายภาพ บำบัด ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ฝึกการเรียนรู้ของสมอง และสอนญาติ ญาติ ดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน

บทเรียนในการประเมินและวางแผนการให้ บริการฟื้นฟูสภาพ: หลัง D/C ผู้ป่วยไม่มารับการประเมิน และการปรับโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพจากนักกายภาพบำบัดเนื่องจากไม่สะดวกในการเดินทางและด้วยสภาวะทางเศรษฐกิจของครอบครัว นักกายภาพบำบัดประสานงานไปยังรพ.สต.ที่ผู้ป่วยอาศัยอยู่ เพื่อลงเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านแบบสหสาขาวิชาชีพและปรับโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพ ให้กายอุปกรณ์ที่จำเป็นรวมถึงปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วย

บทเรียนในการให้บริการฟื้นฟูสภาพ หลังจากที่ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแล้ว พบว่าความสามารถของผู้ป่วยในการดูแลตนเองยังไม่ดีขึ้น ญาติไม่เห็นความสำคัญในการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย บางส่วนญาติให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยมากเกินความจำเป็น

ลงเยี่ยมรอบ 2 ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและการฟื้นตัวของ สมองหลังจากการได้รับโปรแกรมการฟื้นฟู ปรับการเยี่ยมบ้านโดยการให้อาสาสมัครประจำหมู่บ้านเยี่ยมบ้าน ด้วยทุกครั้ง เพื่อให้อาสาสมัครประจำหมู่บ้านนั้นกระตุ้นให้ผู้ป่วยและ ญาติฝึกตามโปรแกรมที่ได้รับ

บทเรียนเกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้พิการและ ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยในชุมชน หลังจากที่มีการเยี่ยมบ้านและมีการประสานงานและส่งข้อมูลสำคัญ (Feed back) ระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน กลับมายังโรงพยาบาลพบว่าผู้ป่วยส่วนหนึ่งก็ยังไม่สามารถดูแลตนเองได้ จึงทำให้มีการเยี่ยมซ้ำโดยทีมสหสาขาวิชาชีพอีกครั้ง ซึ่งพบว่าทำให้ผู้ป่วยได้รับคำแนะนำที่ครอบคลุมมากขึ้น

ผลการพัฒนาที่สำคัญ: ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสภาพอย่างต่อเนื่องโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ผู้ป่วยได้รับการดูแลฟื้นฟูสภาพได้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

ประเด็นในแผนการพัฒนา Scoring: มาตรฐาน score ประเด็นในแผนการพัฒนา ใน 1-2 ปีข้างหน้า 86. การฟื้นฟูสภาพ 4 ปรับปรุงการฟื้นฟูสภาพอย่างเป็นระบบ โดยการสร้างระบบการสื่อสารกันในเครือข่าย เพื่อการ consult ข้อมูลระหว่างกันในทีม