คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“Weather is one of the most important factor that influence
Advertisements

ปริศนาภูมิศาสตร์ไทย ชุดที่1 โดยครูแป้น ส. ภ. ตรัง spa. ac
พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด มหาชน
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ทางหลวงชนบทที่ประสบอุทกภัย
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
วาตภัย.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
จังหวัดราชบุรี เมืองสุดชายแดนตะวันตก
จังหวัดราชบุรี เมืองสุดชายแดนตะวันตก
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
คาดหมายลักษณะอากาศ จรูญ เลาหเลิศชัย.
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
1.
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Demonstration School University of Phayao
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
พลังงานลม.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
อุทยานแห่งชาติภูเรือ
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
1. แนวความคิดในการศึกษา
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
ข้อสังเกตสภาพอากาศแปรปรวน ประชุมสายวิทยาการอุตุนิยมวิทยา ครั้ง ที่ ๖ / ๕๗ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุม กขอ. คปอ.
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
1. วัฒนธรรมด้านที่ อยู่อาศัยมีความ แตกต่างกันไปตาม อะไร.
ดินถล่ม.
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
เกาะสวาดหาดสรรค์มัล ดีฟส์ จัดทำโดย นางสาว ปิยะมาศ อ้นมา คณะโลจิสติกส์
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
KOREA.
เทศกาลชมดอกไม้ (Hanami) หรือ เทศกาลชมดอกซากุระ. จัดทำโดย นายวีรภัทร คำเจริญ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา

การคาดหมายลักษณะอากาศ เดือนสิงหาคมถึงตุลาคม พ. ศ.2557  ช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน มรสุมตะวันตก เฉียงใต้ยังคงพัดปกคลุมประเทศไทย และจะมี กำลังแรงเป็นระยะๆ ร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณ ประเทศไทยตอนบนในบางช่วง ทำให้มีฝน กระจายถึงเกือบทั่วไป และมีฝนตกหนักถึงหนัก มากบางพื้นที่ ซึ่งจะก่อให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก รวมทั้งน้ำล้นตลิ่งในบางพื้นที่  ตุลาคม บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศ จีนจะเริ่มแผ่ลงมาปกคลุมตอนบนของภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะๆ ร่อง มรสุมจะเลื่อนลงไปพาดผ่านบริเวณภาคใต้ ตอนบน และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปก คลุมจะเริ่มเปลี่ยนเป็นมรสุมตะวันออกเฉียง เหนือ ทำให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีฝน ลดลง และเริ่มมีอากาศเย็นบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดูฝนปีนี้บริเวณ ประเทศไทยตอนบนจะสิ้นสุดประมาณ กลางเดือนตุลาคม

พายุหมุนเขตร้อน ( ดีเปรสชั่น โซนร้อนและไต้ฝุ่น )  ปีนี้ คาดว่าจะมีพายุหมุน เขตร้อนเคลื่อนเข้าสู่ ประเทศไทย จำนวน 2 ลูก โดยมีแนวโน้มที่จะ เคลื่อนผ่านบริเวณภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและ ภาคเหนือ ในช่วงเดือน สิงหาคมหรือกันยายน 1 ลูก และจะเคลื่อนผ่าน บริเวณภาคใต้ในช่วง เดือนพฤศจิกายนหรือ ธันวาคมอีก 1 ลูก  ช่วงที่มีพายุหมุนเขตร้อน เคลื่อนตัวเข้าใกล้หรือ เคลื่อนผ่านประเทศไทย จะมีลักษณะของพายุลม แรง ฝนตกเป็นบริเวณ กว้าง และมีฝนตกหนักถึง หนักมากหลายพื้นที่

คาดหมายลักษณะอากาศราย 4 สัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม – 7 กันยายน 2557

ช่วงกลาง - ปลายฤดูฝนปีนี้ ปริมาณฝนรวมโดยเฉลี่ยจะใกล้เคียงกับค่าปกติ สรุป