หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อผู้ใช้ (กรอกรหัสประจำตัวครู) : Ex.10237
Advertisements

ซอฟต์แวร์.
ความน่าจะเป็น Probability.
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
เรื่อง การออมทรัพย์และการลงทุน
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นางคนึงนิตร เมืองอินทร์ ครูผู้ช่วย
นายทอง ทองงาม ครูผู้ช่วย
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
เรื่อง สีต่างๆ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระวิชา คณิตศาสตร์ วันและสัปดาห์
เอกสารเคมี Chemistry Literature
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ประวัติส่วนตัว ชื่อ ณิชากร คีรีสุธาลัย ชื่อเล่น แอน
Probability & Statistics
Probability & Statistics
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
ตัวอย่างที่ 2.16 วิธีทำ จากตาราง.
การนับเบื้องต้น Basic counting
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
แบบทดสอบสำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 2
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การเปรียบเทียบค่าเงินเหรียญ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
นางวรรณี ศรีดนุเดช การพัฒนาความพร้อมด้านคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวน 0-9
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต
นางปัญญดา ภูริโรจน์ ที่ปรึกษา
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
วัตถุประสงค์ ของการเสวนา รร เล็ก ๑. เพื่อรับนโยบาย จาก ผอ. เขต ๒
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
โรงเรียนบ้านทุ่งหงาว
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ด.ญ. นีนนารา พรมรักษา ม. 1/8 เลขที่ 16 โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี สื่อการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โดย นางสกุณา ดีงาม โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี

หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โดยครูสกุณา ดีงาม 2 ความน่าจะเป็น สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น สาระการเรียนรู้ 6.1 แซมเปิลสเปซ

ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น โดยครูสกุณา ดีงาม 3 ความน่าจะเป็น ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น การทดลองสุ่ม คือการทดลองที่ผลลัพธ์จะสามารถเกิดขึ้นได้แตกต่างกันหลายอย่าง แต่เราไม่ทราบว่าผลลัพธ์ใดจะเกิดขึ้น เช่น การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ การทอดลูกเต๋าลงในถ้วย การวิ่งแข่งขัน

ผลลัพธ์ การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ การทอดลูกเต๋า 1 ลูกลงในถ้วย โดยครูสกุณา ดีงาม 4 ความน่าจะเป็น ผลลัพธ์ คือผลที่เกิดขึ้นอย่างใดอย่างหนึ่ง หลังจากการทดลองสุ่มได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ คือ หัว หรือ ก้อย การทอดลูกเต๋า 1 ลูกลงในถ้วย ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ คือ แต้ม 1,2,3,4,5,6 การวิ่งแข่งขัน ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ คือ ได้ที่ 1,ได้ที่ 2,ได้ที่ 3 ...

แซมเปิลสเปซ (Sample space) โดยครูสกุณา ดีงาม 5 ความน่าจะเป็น แซมเปิลสเปซ (Sample space) คือเซตของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม “S” เช่น 1. การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ คือ หัว หรือ ก้อย S= { หัว , ก้อย }

2. ทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง จงหาแซมเปิลสเปซของ โดยครูสกุณา ดีงาม 6 ความน่าจะเป็น 2. ทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง จงหาแซมเปิลสเปซของ หน้าลูกเต๋าที่หงายขึ้น S = { (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (1,5) , (1,6) (2,1) , (2,2) , (2,3) , (2,4) , (2,5) , (2,6) (3,1) , (3,2) , (3,3) , (3,4) , (3,5) , (3,6) (4,1) , (4,2) , (4,3) , (4,4) , (4,5) , (4,6) (5,1) , (5,2) , (5,3) , (5,4) , (5,5) , (5,6) (6,1) , (6,2) , (6,3) , (6,4) , (6,5) , (6,6) }

3. ทอดลูกเต๋า2 ลูก พร้อมกัน1ครั้ง จงหาแซมเปิลสเปซ ของผลรวม โดยครูสกุณา ดีงาม 7 ความน่าจะเป็น 3. ทอดลูกเต๋า2 ลูก พร้อมกัน1ครั้ง จงหาแซมเปิลสเปซ ของผลรวม ของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองลูก S = { 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10 , 11 , 12 } 4. จงหาแซมเปิลสเปซของเพศของบุตรครอบครัวหนึ่ง ซึ่งมีบุตร 2 คน S = { (ช,ช) , (ช,ญ) , (ญ,ช) , (ญ,ญ) }

8. ความน่าจะเป็น 5. นักเรียนเขียนแซมเปิลสเปซของการสุ่มหยิบลูกปิงปอง 2 ลูก จากกล่องซึ่งมี 6 ลูก ลูกละสี คือ สีขาว สีเขียว สีแดง สีฟ้า สีเหลือง และสีชมพู ขาว เขียว แดง ฟ้า เหลือง ชมพู ขาว,เขียว ขาว,แดง ขาว,ฟ้า ขาว,เหลือง ขาว,ชมพู เขียว,แดง เขียว,ฟ้า เขียว,เหลือง เขียว,ชมพู แดง,ฟ้า แดง,เหลือง แดง,ชมพู ฟ้า,เหลือง ฟ้า,ชมพู เหลือง,ชมพู 5 4 ขาว เขียว ชมพู แดง เหลือง ฟ้า 3 S={(ขาว,เขียว),(ขาว,แดง),(ขาว,ฟ้า),(ขาว,เหลือง),(ขาว,ชมพู), (เขียว,แดง),(เขียว,ฟ้า) ,(เขียว,เหลือง),(เขียว,ชมพู),(แดง,ฟ้า),(แดง,เหลือง) ,(แดง,ชมพู) ,(ฟ้า,เหลือง) ,(ฟ้า,ชมพู) ,(เหลือง,ชมพู)} 1 2 n (S) = 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 15

แบบทดสอบ ในการโยนลูกเต๋า 1 ลูก สองครั้งเป็นการทดลองสุ่มหรือไม่ ใช่ 9. ความน่าจะเป็น แบบทดสอบ ในการโยนลูกเต๋า 1 ลูก สองครั้งเป็นการทดลองสุ่มหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่

2. สำรวจอายุคนป่วยในตึกอายุรกรรมเป็นการทดลองสุ่มใช่หรือไม่ 2. สำรวจอายุคนป่วยในตึกอายุรกรรมเป็นการทดลองสุ่มใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่

3. ข้อความใดเป็นแซมเปิลสเปซของ การโยนเหรียญสองเหรียญ 1 ครั้ง 30 3. ข้อความใดเป็นแซมเปิลสเปซของ การโยนเหรียญสองเหรียญ 1 ครั้ง ก. (หัว,หัว),(ก้อย,ก้อย) ข. (หัว,ก้อย),(ก้อย,ก้อย) ค. (ก้อย,หัว),(ก้อย,ก้อย) ง. (หัว,หัว),(ก้อย,ก้อย),(หัว,ก้อย)

4. โยนลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้งจำนวนแซมเปิลสเปซเท่ากับเท่าไร 4. โยนลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้งจำนวนแซมเปิลสเปซเท่ากับเท่าไร Alphabet Buttons Appear Here

<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>