ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อินเตอร์เน็ตของวัยรุ่น
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
ประวัติ-ผลงาน ของนักคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
การจัดการเรียนรู้ Learning
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
การสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนชาวไทย Assistant Professor Dr. Christopher Johnson
Creative Thinking : ความคิดสร้างสรรค์
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การเขียนรายงานการวิจัย
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
องค์ประกอบของวรรณคดี
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ความต้องการของผู้ใหญ่ใน การเรียนรู้ 4 ด้านคือ 1. เพื่อที่จะได้เพิ่มพูนบางอย่าง (To gain something) 2. เพื่อที่จะได้เป็นบางสิ่ง (To be something) 3. เพื่อที่จะได้ทำบางสิ่ง.
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
คุณค่าของสื่อ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด

ความหมายของทฤษฎี นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม(neutral - passive) การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 (sensation) และความรู้สึก(feeling) คือ การตีความหรือแปลความหมายจากการสัมผัส การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงเน้นให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้เป็นอย่างดี

นักคิดคนสำคัญ จอร์น ล็อค (John locke) วิลเฮล์ม วุนด์ (Wilhelm Wundt) ทิช เช เนอร์ (Titchener) แฮร์บาร์ต (Herbart)

คำนิยามของนักทฤษฎี มนุษย์เกิดมาไม่มีทั้งความดี ความเลวในตัวเอง การเรียนรู้เกิดจากสิ่งแวดล้อม - จอห์น ล็อก เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากบุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางสัมผัสทั้ง 5 - วิลเฮล์ม วุนด์ เชื่อว่าจิตมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ การสัมผัสทั้ง 5 การรู้สึกและจินตนาการ - ทิชเชเนอร์ เชื่อว่าจิตมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ การสัมผัสทั้ง 5 การรู้สึก และจินตนาการ - แฮร์บาร์ต เชื่อว่า การเรียนรู้มี 3 ระดับ คือ ขั้นการเรียนรู้โดยประสาทสัมผัส ขั้นจำ ความคิดเดิม และขั้นการเกิดความคิดรวบยอดและความเข้าใจแฮร์บาร์ต เชื่อว่าการสอนควรเริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียนเสียก่อนแล้วจึงเสนอความรู้ใหม่

หลักการสอนตามทฤษฎี 1. การจัดให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ผ่านทางสัมผัสทั้ง 5 เป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. การช่วยให้ผู้เรียนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้อย่างดี 3. การสอนโดยดำเนินการตาม 5 ขั้นตอนของแฮร์บาร์ต จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีรวดเร็ว ขั้นตอนดังกล่าวคือ

หลักการสอนตามทฤษฎี(ต่อ) 3.1   ขั้นเตรียมการ หรือขั้นนำ (preparation)ได้แก่ การเร้าความสนใจของผู้เรียนและการทบทวนความรู้เดิม 3.2   ขั้นเสนอ (presentation) ได้แก่ การเสนอความรู้ใหม่ 3.3   ขั้นการสัมพันธ์ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ (comparison and abstraction) ได้แก่ การขยายความรู้เดิมให้กว้างออกไป โดยสัมพันธ์ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ด้วยวิธีการต่างๆ 3.4   ขั้นสรุป (generalization) ได้แก่ การสรุปการเรียนรู้เป็นหลักการหรือกฎต่างๆที่จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับปัญหาหรือสถานการณ์อื่นๆต่อไป 3.5   ขั้นประยุกต์ใช้ (application)ได้แก่ การให้ผู้เรียนนำข้อสรุปหรือการเรียนรู้ที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ๆที่ไม่เหมือนเดิม

ข้อดี ช่วยให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีการทำงานหรือการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องหรือเชื่อมโยงกันให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ทั้งการเรียนรู้สิ่งใหม่ที่จะต้องมีการเชื่อมโยงในส่วนของสมอง ความคิด จินตนาการ ซึ่งให้เกิดความเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นได้รวดเร็ว ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด เหมาะสำหรับเด็กมัธยมศึกษาขึ้นไป

อ้างอิง ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด.เข้าถึงได้จาก http://1nuttikan039.blogspot.com/2011/06/blog-post_30.html .16 กรกฎาคม 2555 ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด.เข้าถึงได้จาก http://2maneerat053.blogspot.com/2011/06/blog-post_3485.html .16 กรกฎาคม 2555

สมาชิกกลุ่ม 1.นางสาววาริน โสระฎา 531120938 2.นางสาวชุติมา กันทะวงษ์ 531120914 3.นางสาวฐาปนี รุ่งคีรีรัตน์ 531120921 4.นางสาวจาริยา จับใจนาย 531120943 5.นายสุพจน์ วันชัยรุ่งรุจี 531120930 6.นายอิสรพงษ์ แก่นจันทร์ 531120944 โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา