งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์
บ่อเกิด / ที่มา จุดเริ่มต้น เหตุผล+ประสบการณ์

2 ญาณวิทยาในสำนักประสบการณ์นิยม
ความหมายและความเป็นมาของประสบการณ์นิยม ลักษณะของความรู้แบบประสบการณ์นิยม ทรรศนะของนักปรัชญาประสบการณ์นิยม

3 ความหมายและความเป็นมา ของประสบการณ์นิยม
ความหมายและความเป็นมา ของประสบการณ์นิยม ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ตรง หรือที่สืบเนื่องมาจากประสบการณ์เท่านั้นจึงจะถือได้ว่าจริง และใช้ประสบการณ์เป็นมาตรการตัดสินความจริง คนเราจะมีความรู้ได้ ต้องอาศัยประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตโดยตรง

4 ลักษณะของความรู้แบบประสบการณ์นิยม
ความรู้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังประสบการณ์ (Priori) ความรู้เกิดจากประสาทสัมผัส (Sensation) ความรู้เป็นเพียงบางส่วน (Particular) ความรู้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ (Contingent) ความรู้เป็นการสังเคราะห์ (Synthetic)

5 มนุษย์เกิดมาพร้อมด้วยสมองที่ว่างเปล่า
ไม่มีความคิด ไม่มีความรู้ เริ่มมีความรู้ เพราะได้รับจากประสบการณ์ โดยอาศัยอินทรียสัมผัสทั้ง 5 ทารกรู้จักความร้อนของไฟ เพราะมีประสบการณ์ตรงกับไฟ

6 ทรรศนะของนักปรัชญาประสบการณ์นิยม
จอห์น ล็อค (John Lock ) ประสบการณ์มี 2 ประเภท คือ 1.ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส 2.ประสบการณ์ทางจิตใจ ได้แก่ การคิดทบทวน เรารู้สิ่งภายนอกโดยอาศัยประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส และรู้สิ่งที่อยู่ภายในจิตของเราโดยอาศัยการคิดทบทวน ไม่มีความคิดชนิดใดที่ไม่ได้มาจากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส

7 จิตเป็นสภาพที่อยู่เฉย ๆ (Passive) ในขณะที่รับประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส
จิตเริ่มทำหน้าที่ (Active) ในการเปรียบเทียบสิ่งที่ได้รับจากการสัมผัสแล้วรวมกันให้เป็นความคิดซับซ้อน จนเกิดเป็นความคิดเชิงเดี่ยว (มโนภาพเชิงเดี่ยว) จิต จิต ประสบการณ์ ACTIVE PASSIVE

8 ความรู้ คือ การรับรู้ (perception) โลกภายนอก โดยผ่านทางมโนคติ (idea) มโนคติ คือ ตัวแทนของวัตถุซึ่งไม่ได้มีอยู่จริงในจิตมนุษย์ แต่เป็นภาพถ่ายของโลกภายนอก ล็อคยอมรับการมีอยู่ของโลกภายนอก แต่เรารับรู้โลกภายนอกโดยตรงไม่ได้ สิ่งที่เรารู้ได้ คือ มโนคติ ที่มาของมโนคติมี 2 ทาง คือ 1) ประสาทสัมผัส (sensation) การรับรู้ข้อมูลจากภายนอก และ 2) การไตร่ตรอง (reflection) เป็นการทำงานของจิต การทำงานของจิตทำให้มโนคติประทับในความเข้าใจ (understanding)

9 สิ่งที่มนุษย์รู้ คือ มโนคติของคุณภาพ (idea of quality) เราไม่ได้รู้คุณภาพ แต่รู้มโนคติของมัน
คุณภาพ หมายถึง อำนาจในการสร้างมโนคติขึ้นในจิต - คุณภาพปฐมภูมิ : คุณสมบัติที่มีอยู่จริงในวัตถุ - คุณภาพทุติยภูมิ : คุณสมบัติที่เรามีประสบการณ์

10 สสารรู้ได้ด้วยประสบการณ์ จิตรู้ได้ด้วยการคิด
พระผู้เป็นเจ้ารู้ได้ด้วยการสาธิตจากสิ่งที่มีอยู่ (อนุมานจากสิ่งที่มีอยู่ในใจ) สสารมี แต่ตัวมันเองรู้ไม่ได้ และไม่สามารถที่จะรู้ได้ เพราะเป็นรากฐานของการกินที่ ปริมาตร รูปร่าง การหยุดนิ่งและการเคลื่อนไหว (คุณภาพปฐมภูมิ) ของสสาร จิตเป็นรากฐานของประสาทสัมผัส แล้วก่อให้เกิดประสบการณ์ทางจิต

11 ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon : 1561–1626)
การทำลายเทวรูปแห่งความคิด (the idol of mind) เทวรูปแห่งถ้ำ เทวรูปแห่งตลาดนัด เทวรูปแห่งโรงละคร เทวรูปแห่งเผ่าพันธุ์ วิธีการแสวงหาความรู้แบบคัดออก (elimination) รายการมี รายการไม่มี รายการยกระดับ

12 จอร์จ เบิร์กลีย์ (Geoge Berkley 1685-1753)


ดาวน์โหลด ppt บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google