นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
ส่งการบ้านในระบบ E-laering
เศรษฐกิจ พอเพียง.
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจพอเพียง.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.ฐิติพร เลาหสูต.
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
84 พรรษามหาราช ด.ช.อชิรวิทย์ ดำเนินผล.
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
เด็กชายคณนาถ ศรีรัตนสุภานนท์
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระบวนการการทำงานชุมชน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้มีความ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เศรษฐกิจพอเพียง นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้มีความ " พออยู่พอกิน" และมีความอิสระที่จะอยู่ได้โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรงวิเคราะห์ว่าหากประชาชนพึ่งตนเองได้แล้วก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้างประเทศชาติโดยส่วนรวมได้ในที่สุด พระราชดำรัสที่สะท้อนถึงพระวิสัยทัศน์ในการสร้างความเข้มแข็งในตนเองของประชาชนและสามารถทำมาหากินให้พออยู่พอกินได้

ในทางปฏิบัติจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น เศรษฐกิจพอเพียงเป็นทั้งหลักการและกระบวนการทางสังคม ตั้งแต่ขั้นฟื้นฟูและขยายเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืน เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพออยู่พอกินขึ้นไปถึงขั้นแปรรูปอุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและทักษะวิชาการที่หลากหลายเกิดตลาดซื้อขาย สะสมทุน ฯลฯ บนพื้นฐานเครือข่ายเศรษฐกิจชุมชนนี้ เศรษฐกิจของ 3 ชาติ จะพัฒนาขึ้นมาอย่างมั่นคงทั้งในด้านกำลังทุนและตลาดภายในประเทศ รวมทั้งเทคโนโลยีซึ่งจะค่อยๆ พัฒนาขึ้นมาจากฐานทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่ภายในชาติ และทั้งที่จะพึงคัดสรรเรียนรู้จากโลกภายนอก

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตัวเอง ทำให้อยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน มีสิ่งจำเป็นที่ทำได้โดยตัวเองไม่ต้องแข่งขันกับใคร และมีเหลือเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่มี อันนำไปสู่การแลกเปลี่ยนในชุมชน และขยายไปจนสามารถที่จะเป็นสินค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดที่เริ่มจากตนเองและความร่วมมือ วิธีการเช่นนี้จะดึงศักยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ซึ่งมีความผู้พันกับ “จิตวิญญาณ” คือ “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า”

ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงขึ้นนี้จึงทำให้เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนในแนวพระราชดำริของ "เศรษฐกิจพอเพียง" ซึ่งได้ทรงคิดและตระหนักมาช้านาน เพราะหากเราไม่ไปพึ่งพา ยึดติดอยู่กับกระแสจากภายนอกมากเกินไป จนได้ครอบงำความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทยๆไปหมด มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐานที่ไม่มั่นคงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นนี้อาจไม่เกิดขึ้น หรือไม่หนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นนี้ ดังนั้น "เศรษฐกิจพอเพียง" จึงได้สื่อความหมาย ความสำคัญในฐานะเป็นหลักการสังคมที่พึงยึดถือ

การผลิตตามทฤษฎีใหม่สามารถเป็นต้นแบบการคิดในการผลิตที่ดีได้ ดังนี้ 1 การผลิตตามทฤษฎีใหม่สามารถเป็นต้นแบบการคิดในการผลิตที่ดีได้ ดังนี้ 1. การผลิตนั้นมุ่งใช้เป็นอาหารประจำวันของครอบครัว เพื่อให้มีพอเพียงในการบริโภคตลอดปี เพื่อใช้เป็นอาหารประจำวันและเพื่อจำหน่าย 2. การผลิตต้องอาศัยปัจจัยในการผลิต ซึ่งจะต้องเตรียมให้พร้อม เช่น การเกษตรต้องมีน้ำ การจัดให้มีและดูแหล่งน้ำ จะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งการผลิต และประโยชน์ใช้สอยอื่น ๆ 3. ปัจจัยประกอบอื่น ๆ ที่จะอำนวยให้การผลิตดำเนินไปด้วยดี และเกิดประโยชน์เชื่อมโยง (Linkage) ที่จะไปเสริมให้เกิดความยั่งยืนในการผลิต จะต้องร่วมมือกันทุกฝ่ายทั้ง เกษตรกร ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับเศรษฐกิจการค้า และให้ดำเนินกิจการควบคู่ไปด้วยกันได้