-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ความเท่ากันทุกประการ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
Tangram.
ระบบอนุภาค.
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
Quadratic Functions and Models
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
บทเรียนเพาเวอร์พอยท์
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
การสร้างแบบเสื้อและแขน
วงรี ( Ellipse).
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
งานเครื่องล่างรถยนต์
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ทรงกลม.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน การแปลงทางเรขาคณิต -การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน

1. การสะท้อน (Reflection) การสะท้อน คือ การแปลงที่จุดทุกจุดของรูปต้นแบบเคลื่อนที่ข้ามเส้นตรงเส้นหนึ่ง ซึ่งเปรียบเสมือนกระจกหรือเรียกว่า เส้นสะท้อน โดยที่เส้นสะท้อนนี้จะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อนที่สมนัยกัน ดังรูป สมบัติของการสะท้อน 1. รูปที่เกิดจากการสะท้อนจะเท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบ และเกิดการพลิกรูป 2. รูปที่เกิดจากการสะท้อนกับรูปต้นแบบจะห่างจากเส้นสะท้อนเท่ากัน 3. การสะท้อนจะต้องมีเส้นสะท้อนเสมอ

ตัวอย่าง กำหนด ∆ ABCD และให้ เป็นเส้นสะท้อน จงหา พิกัดของจุด A', B', C' และ D' ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุด A, B, C และ D ∆ A'B'C'D' ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน ∆ ABCD

วิธีทำ 1. หาพิกัดของจุด A', B', C' และ D' ได้ดังนี้ จากรูป พิกัดของจุด A, B,C และ D เป็น A(-2,7), B(-6,7), C(-7,2) และ D(-3,-1) จะได้พิกัดของจุด A', B', C' และ D' เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุด A, B,C และ D เป็น A'(5,0), B'(5,-4), C'(0,-5) และ D'(-3,-1) 2. ลาก จะได้ ∆ A'B'C'D' เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน ∆ ABCD ด้วยเส้นสะท้อน

2. การเลื่อนขนาน (Translation) การเลื่อนขนาน คือ การเคลื่อนที่จุดทุกจุดบนรูปต้นแบบไปในทิศทางเดียวกันและระยะทางเท่ากัน ดังรูป สมบัติของการเลื่อนขนาน ภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานจะเท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบ จุดแต่ละจุดที่สมนัยกันบนภาพที่ได้จาการเลื่อนขนานกับรูปต้นแบบจะมีระยะ ห่างเท่ากัน จุดทุกจุดบนรูปต้นแบบมีทิศทางการเลื่อนขนานไปทางเดียวกัน

3.การหมุน (Rotation) การหมุน คือ การแปลงที่จุดทุกจุดของรูปต้นแบบเคลื่อนที่ไปเป็นมุมเดียวกันรอบจุดตรึงที่อยู่กับที่ซึ่งเรียกว่า ศูนย์กลางของการหมุน หรือ จุดหมุน สมบัติของการหมุน รูปที่ได้จาการหมุนจะเท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบ จุดทุกจุดของรูปต้นแบบเคลื่อนที่ไปด้วยมุมขนาดเดียวกันรอบจุดหมุนซึ่งเป็นจุดคงที่ จุดที่สมนัยกันทุกคู่ของรูปต้นแบบและภาพ จะอยู่ห่างจากจุดหมุนเท่ากัน