กลุ่มที่ 3 สมาชิกในกลุ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
การทดสอบไขมันในน้ำยาปรับผ้านุ่ม
บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
ยินดีต้อนรับสู่.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
จงหาค่าของ จงหาค่าของ.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
โครงงานทดสอบประสิทธิภาพของนม
Application of Graph Theory
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
แนวทางการจำหน่ายดินที่ได้จากการขุดลอก ในที่ราชพัสดุ
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
สิ่งมหัศจรรย์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลข สัญลักษณ์ ทางคณิต
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
การละเล่นของไทย จัดทำโดย ด.ญ.พรหมพร แสงผึ้ง ด.ญ.พัชราภา มหาวิจิตร เสนอ
เศษส่วน.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
เรื่อง การทำอาหารปลาจากธรรมชาติ
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ข้อมูลและสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ ง จัดทำโดย 1. ด. ช. ณัฐดนัย พูลเอี่ยม เลขที่ 5 2. ด. ช. ดนุพล เผือกวัฒนะ เลขที่ 6 3. ด. ช. อนุวิท กุลอนุสถาพร.
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
การสร้างแบบเสื้อและแขน
การเร่งโครงการ Expedite Project.
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
การรับฟังพยานหลักฐาน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกหนึ่งปัญหา เพื่อใช้สำหรับการศึกษา
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ชื่อโปรแกรม โปรแกรมช่วยดาวน์โหลดที่ดีที่สุด นางสาว อรอุมา สร้อยจรุง เลขที่ 15 ชั้น ปวช. 2/2.
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มที่ 3 สมาชิกในกลุ่ม
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร ลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 3 สมาชิกในกลุ่ม ด.ญ. อัญชิสา กระบวนแสง ชั้น ม. 1/12 เลขที่ 3 ด.ญ. ผกาวดี ชัยวงค์ษา ชั้น ม. 1/12 เลขที่ 5 ด.ญ. ธนัชชา เปรมวิทยาคุณ ชั้น ม. 1/12 เลขที่ 8 ด.ญ. ณัฐชยา คารินทา ชั้น ม. 1/12 เลขที่ 9

บัตรงานที่ 3 ปัญหา ค้นหาเหรียญปลอม มีเหรียญบาทอยู่ 9 เหรียญ เป็นเหรียญปลอม 1 เหรียญ ซึ่งมีน้ำหนักเบากว่าเหรียญจริง จงหาวิธีในการหาเหรียญปลอม โดยการชั่งด้วยตราชั่ง 2 แขน เพียง 2 ครั้ง

เหรียญกองที่ 1 เหรียญกองที่ 2 เหรียญกองที่ 3 แบ่งเหรียญเป็น 3 กอง กองละ 3 เหรียญ แล้วนำเหรียญกองที่ 1 และกองที่ 2 มาชั่ง

กรณีที่ 1 เหรียญกองที่ 1 น้ำหนัก ไม่เท่ากับ เหรียญกองที่ 2 ข้างที่น้ำหนักน้อยกว่าเป็นข้างที่มีเหรียญปลอมอยู่

3 2 1 กรณีที่ 2 เหรียญกองที่ 1 น้ำหนัก เท่ากับ เหรียญกองที่ 2 เหลือเหรียญกองที่ 3 แบ่งเหรียญกองที่ 3 มาชั่ง 2 เหรียญ

เหรียญปลอม เหรียญที่ 1 และ เหรียญที่ 2 มีน้ำหนักเท่ากัน เพราะฉะนั้น เหรียญที่เป็นเหรียญปลอม จึงเป็นเหรียญที่ไม่ได้นำมาชั่ง อีกผลลัพธ์หนึ่งคือ เหรียญที่1 และเหรียญที่2 มีน้ำหนักไม่เท่ากัน เหรียญข้างที่มีน้ำหนักเบากว่าเป็นเหรียญปลอม

ในกรณีที่เหรียญกองที่ 1 และกองที่ 2 ไม่เท่ากันให้นำกองที่มีน้ำหนักน้อยกว่ามาทำการชั่ง โดยนำเหรียญ 2 เหรียญ ในกองที่มีน้ำหนักน้อยมาชั่ง ถ้าเหรียญ 2 เหรียญมีน้ำหนักเท่ากันแสดงว่าอีกเหรียญหนึ่งเป็นเหรียญปลอม