RDF/ MSW Industry for Thailand

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

ฝ่ายพลังงาน Energy Dept..
แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
การสัมมนา บริษัท ไอ อีซีเอ็ม จำกัด ประจำปี 2551
ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
นาย สามารถ เวชศาสตร์ รหัส สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
การผลิตไบโอดีเซลด้วยพลังงานจากแสงอาทิตย์
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน)
ทรัพยากรธรรมชาติ- พลังงาน
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
การสนับสนุน (โครงการ)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 2/2553 วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง มาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีว
ความหมายของสิทธิบัตร
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
รองปลัดกระทรวงพลังงาน
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
Building Commercial-Scale Ethanol Plant “From the Ground Up”
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
"เลือกหลอดผอมเบอร์5 เลือกบ้านไฟฟ้า"
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
นโยบายพลังงาน - ปตท. และ ก๊าซ CBG 4. ประเทศไทยมีการพึ่งพาการนำเข้าด้านพลังงานอยู่ใน ระดับสูงและมีจุดอ่อนหลายประการ.
ข้อเสนอ (ตามเอกสารของ กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้า สภาอุตสาหกรรม)
นโยบายพลังงาน - ปตท. และก๊าซ CBG 3 ประเทศไทยมีวิกฤติด้านพลังงานเพราะต้องนำเข้าจาก ต่างประเทศ ประเทศไทยมีประชากร ส่วนใหญ่มีรายได้จากภาค การเกษตร ดำเนินการผลิตสินค้าขั้นปฐม.
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
นวัตกรรมพลังงานทดแทนเพื่อที่ดินราชพัสดุและกรมธนารักษ์
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
พืชพลังงานตัวใหม่ Tropical sugar beet(TSB)
Energy crop and Renewable energy in Thailand. วัตถุประ สงค์  ส่งเสริมอาชีพให้กับสมาชิกและครอบครัวเกษตรกร  จัดตลาดรับซื้อผลผลิตพืชพลังงาน ราคาประกันและ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

RDF/ MSW Industry for Thailand July 2011 Information to Prospective Investors Green Field Power Co.,LTD.

MSW Management for Green Energy

เป้าหมายพลังงานทดแทนด้านไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้าจาก Biogas จากน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและ ฟาร์มปศุศัตว์ จำนวน 280 MW. การผลิตไฟฟ้าจาก Biogasพืชพลังงานยังไม่มีในประเทศไทย

การผลิตไฟฟ้าตามประเภทเชื้อเพลิง ปี 2552 ใช้ฟอสซิล 92.2% และในจำนวนนี้ใช้ก๊าซธรรมชาติ 72.5% ใช้พลังงานทดแทนเพียง 1.4% (จากเป้าหมาย 10%) ที่มา : กระทรวงพลังงาน

Composition of MSW

Renewable Energy from MSW

ผลิตก๊าซชีวภาพพัฒนาเป็นพลัง CBG ใช้ ในรถยนต์   สำหรับในช่วงปี 2551-2560 ได้มีการส่งเสริมวิจัยพัฒนานำกากของเสีย โดยเฉพาะการนำพืชพลังงานที่มีศักยภาพมาหมักเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพใช้ทดแทน พลังงาน ซึ่งผลที่ได้นอกจากจะสามารถนำมาผลิตไฟฟ้าและความร้อนแล้ว จะมีการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การผลิตเป็นก๊าซชีวภาพอัด (CBG) ใช้ทดแทนNGV ในภาคขนส่งอีกด้วย โดยปัจจุบันมีประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น เยอรมนีสามารถพัฒนาเทคโนโลยีในการหมักพืชพลังงาน เพื่อให้ได้ก๊าซมีเทนมาใช้เป็นเชื้อเพลิงแล้ว กว่า 5,000 แห่งทั่วประเทศ และจีนมีโรงผลิตไฟฟ้าที่ใช้หญ้าเลี้ยงสัตว์ขนาด 30 เมกะวัตต์แล้ว ส่วนในประเทศไทย สนพ. ได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.)  ทำการศึกษาวิจัยนำพืชชนิดต่างๆที่มีอยู่ในประเทศไทยและคาดว่าจะมีศักยภาพ ซึ่งหนี่งในจำนวนพืชที่ทำการศึกษาจะมี หญ้าเลี้ยงช้าง ที่มีการปลูกอยู่แล้วในประเทศ มาทดลองผลิตเป็นพลังงานซึ่งหญ้าดังกล่าว มีลักษณะลำต้นคล้ายอ้อย เติบโตเร็ว และเป็นหญ้าในตระกูลเดียวกับหญ้าที่ประเทศเยอรมนีนำมาผลิตเป็นพลังงาน ปัจจุบันมีผลผลิตอยู่ที่ 40 ตัน/ไร่/ปี โดยหญ้าเลี้ยงช้าง 1 ตัน สามารถผลิตไบโอแก๊สได้160-190 ลบ.ม.  ทั้งนี้ หากต้องการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ 1 เมกะวัตต์ต้องใช้พื้นที่ปลูกหญ้าประมาณ 438 ไร่

          "การส่งเสริมการปลูกหญ้าเลี้ยงช้าง เพื่อนำมาผลิตเป็นพลังงานนั้นนอกจากจะเป็นผลดีต่อเกษตรกร คือ สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรกรโดยปัจจุบัน ราคารับซื้อของศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย จ.ลำปาง อยู่ที่ประมาณ 1.20 บาท เกษตรกรจะมีรายได้จากการจำหน่ายปีละ 48,000 บาทต่อไร่ และหากโครงการวิจัยดังกล่าวประสบผลสำเร็จ เชื่อว่าหญ้าเลี้ยงช้าง จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของพืชพลังงานในอนาคต ที่สามารถนำไปผลิตเป็นพลังงาน ทดแทนการนำเข้าน้ำมันดิบ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวจากต่างประเทศ และทดแทนการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และที่สำคัญ ยังเป็นการสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศในอนาคตอีกด้วย" ผอ.สนพ. กล่าว http://its.in.th/index.php/component/content/article/1-latest-news/7317--cbg---