ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
Advertisements

วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
(Structure of the Earth)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ระบบสุริยะ (Solar System).
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โลก (Earth).
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
ยูเรนัส (Uranus).
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
ดวงจันทร์ (Moon).
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
Assignment เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)

ดาวเคราะห์น้อยเป็นวัตถุขนาดเล็กซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุริยะ มีวงโคจรเป็นวงรีอยู่ระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัส

ดาวเคราะห์น้อยถูกค้นพบเป็นครั้งแรกโดย Giuseppe Piazzi เมื่อเดือน มกราคม 1801 โดยเข้าใจว่าเป็นดาวหาง แต่เมื่อศึกษาต่อมาถึงลักษณะวงโคจร จึงเข้าใจว่า เป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก จึงเรียกชื่อว่า Ceres (เทพีแห่งพืชพันธ์) ในระยะต่อมา ดาวเคราะห์น้อยอีก 3 ดวง (Pallas, Vesta, และ Juno) จึงถูกค้นพบ เมื่อสิ้นสุดศตวรรษที่ 19 มีดาวเคราะห์น้อยอีกหลายร้อยดวงถูกค้นพบ

ในปัจจุบันมีดาวเคราะห์น้อยมากกว่า 7000 ดวงที่ถูกค้นพบ ในแต่ละปีมีการค้นพบมากกว่า 100 ดวง แต่ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่มีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากพื้นโลก

มีดาวเคราะห์น้อยจำนวน 26 ดวงที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 200 กิโลเมตร ดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 100 กิโลเมตรถูกค้นแล้วประมาณ 99 % ดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 10 ถึง 100 กิโลเมตรถูกค้นแล้วประมาณ 50 % ส่วนดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็กที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 กิโลเมตรอาจมีเป็นล้านดวง

ดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สุดคือ 1 Ceres มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 933 กิโลเมตรและมีมวลประมาณ 25% ของมวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์น้อย ดวงที่มีขนาดรองลงมาได้แก่ 2 Pallas, 4 Vesta และ 10 Hygiea ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 400 ถึง 525 กิโลเมตร

ดาวเคราะห์น้อยมีคาบการหมุนรอบตัวเองประมาณ 5 ถึง 20 ชั่วโมง และใช้เวลาโจรรอบดวงอาทิตย์ประมาณ 3 ถึง 6 ปี

นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ดาวเคราะห์น้อยเกิดจากวัตถุส่วนที่เหลือจากการสร้างระบบสุริยะ โดยคาดหมายว่าวัตถุที่เคยโคจรอยู่ในตำแหน่งของวงโคจรดาวเคราะห์น้อยในปัจจุบันนั้น ถูกทำให้แตกออกเป็นชิ้นเล็กๆ อันมีสาเหตุจากแรงดึงดูดของดาวพฤหัส ในระยะเริ่มแรกอาจเป็นชิ้นเศษดาวไม่มากนัก หลังจากเวลาผ่านไปเกิดการชนกันของชิ้นเศษดาวเหล่านี้ทำให้ชิ้นเศษดาวแตกออกเป็นชิ้นเล็กๆมากมาย

มวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์น้อยจะน้อยกว่ามวลของดวงจันทร์

ดาวเคราะห์น้อยจำแนกโดยอาศัยลักษณะของส่วนประกอบทางเคมีและค่าการสะท้อนแสงออกได้เป็น 3 กลุ่ม

1. C-type (carbonaceous) หรือ stony meteorites ประกอบด้วย carbonaceous chondrites มีส่วนประกอบทางเคมีที่คล้ายดวงอาทิตย์ และสารที่เป็นก๊าซอื่นๆ ซึ่งเชื่อว่าเป็นวัตถุที่เก่าแก่ที่สุดที่เกิดขึ้นพร้อมกับการสร้างระบบสุริยะ ดาวเคราะห์น้อยชนิดนี้มีสีเข้มเนื่องจากปริมาณสารไฮโดรคาร์บอนซึ่งดูดซับน้ำเข้าไปทำให้ไม่เกิดการหลอมอีกหลังจากที่เกิดเป็นรูปร่างดาวแล้ว ดาวเคราะห์น้อยชนิดนี้มีประมาณ 75% ของดาวเคราะห์น้อยที่สังเกตเห็นได้จากพื้นโลก

2. S-type (silicaceous) หรือ stony iron meteorites ประกอบด้วยโลหะผสมของ เหล็ก-นิเกิลและเหล็ก-แมกนีเซียม กับซิลิเกต ดาวเคราะห์น้อยชนิดนี้มีประมาณ 15 -17% ของดาวเคราะห์น้อยที่สังเกตเห็นได้จากพื้นโลก

3. M-type หรือ iron meteorites ประกอบด้วย เหล็ก-นิเกิล เป็นหลัก

จากการศึกษา 4 Vesta โดย HST พบว่า ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้มีโครงสร้างภายในเป็นชั้นคล้ายกับดาวเคราะห์ชั้นใน มีแหล่งกำเนิดความร้อนที่คาดว่าได้จากปฏิกิริยาทางนิวเคลียร์แต่ไม่มากพอที่จะทำให้วัตถุหลอมเหลวได้

นักวิทยาศาสตร์พบว่า มีดาวเคราะห์น้อยมากกว่า 2000 ดวง ที่มีวงโคจรตัดกับวงโคจรของโลก และมากกว่า 1500 ดวง ที่มีขนาดใหญ่พอที่จะทำให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกถ้าเกิดการพุ่งชนโลก โดยโอกาสที่จะเกิดการชนครั้งหนึ่งประมาณ 300,000 ปี

นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าหลุมขนาดใหญ่ใน Mexico เป็นจุดที่ดาวเคราะห์น้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 กิโลเมตร พุ่งชนโลกเมื่อประมาณ 65 ล้านปีที่ผ่านมา และเป็นสาเหตุให้เกิดการสูญพันธ์ของไดโนเสาร์ การพุ่งชนของดาวเคราะห์น้อยทำให้ฝุ่นและก๊าซฟุ้งกระจายอยู่ในบรรยากาศ ป้องกันไม่ให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านมายังพื้นโลกได้เป็นแรมเดือนหรือแรมปี ปฏิกิริยาของก๊าซกับเมฆ ทำให้เกิดฝนกรด ซึ่งทั้งฝนกรดและการขาดแสงอาทิตย์ทำให้พืชต่างๆตายไป

ดาวเคราะห์น้อยไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากพื้นผิวโลกต้องใช้กล้องส่องทางไกลหรือกล้องโทรทรรศน์เท่านั้นในการศึกษา