การวางมาตรการ พิทักษ์ระบบคุณธรรม ตามพ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
Advertisements

สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อุทธรณ์.
การดำเนินการทางวินัย ข้าราชการ
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
ดูแลพิทักษ์ ระบบคุณธรรม คณะกรรมการ พิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.)
หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การจัดการน้ำเสีย (อจน.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
การเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ตาม พ. ร. บ
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
การเปลี่ยนแปลงการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
เงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลา
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางมาตรการ พิทักษ์ระบบคุณธรรม ตามพ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนพ การวางมาตรการ พิทักษ์ระบบคุณธรรม ตามพ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนพ.ศ.2551 โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ กรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2552 โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จ. พระนครศรีอยุธยา

การพิทักษ์ระบบคุณธรรม (MERIT SYSTEM PROTECTION) ลักษณะ เป็นกระบวนการบริหารงานบุคคล (PERSONNEL ADMINISTRATION PROCESS) ผู้พิทักษ์ ก่อน พ.ศ.2551 ก.พ.= หน่วยเฝ้าระวัง (WATCH DOG OF MERIT SYSTEM) พ.ร.บ.พลเรือน 2551 ก.พ.ค. = องค์คณะกึ่งตุลาการ ( MERIT SYSTEM PROTECTION COMMISSION) P.2

ให้ดำรงตำแหน่ง ต้องคำนึงถึงความรู้ความสามารถ ระบบคุณธรรม (มาตรา 42) (1) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่ง ต้องคำนึงถึงความรู้ความสามารถ ของบุคคล ความเสมอภาค ความเป็นธรรม และ ประโยชน์ของทางราชการ (2) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคำนึงถึง ผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กรและ ลักษณะของงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็น ธรรม P.15A

ระบบคุณธรรม (ต่อ) (3) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำแหน่งและ (3) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำแหน่งและ การให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการ ต้องเป็นไปอย่าง เป็นธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพและ ความประพฤติและจะนำความคิดเห็นทางการเมือง หรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามิได้ (4) การดำเนินการทางวินัย ต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและ โดยปราศจากอคติ (5) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องมีความเป็นกลางทาง การเมือง P.15B

การวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม แยกองค์กรออกกฎ กับตรวจกฎ/องค์กรบังคับใช้กฎกับรับร้องทุกข์ / องค์กรสั่งลงโทษกับอุทธรณ์ หลักประกันความเป็นมืออาชีพ คุณสมบัติ:เทียบเท่าตุลาการศาลปกครองชั้นต้น ทำงานเต็มเวลา ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) หลักประกันความเป็นธรรม การวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ระยะเวลาสูงสุดของการพิจารณาอุทธรณ์ ๑๒๐+๖๐+๖๐ วัน ทุกข์ที่เกิดจากปลัดกระทรวง,รมต.หรือ นรม.ให้ร้องต่อ ก.พ.ค. ก.พ.ค.มีมติประการใดให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการนั้น ไม่พอใจ ฟ้องศาลปกครองสูงสุดได้ หลักประกันความเป็นอิสระ ในการใช้ดุลพินิจ ของ ก.พ.ค. อำนาจหน้าที่ ที่มา:คกก.คัดเลือก ประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลฎีกา กรรมการ ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิ เลขาธิการ ก.พ. ลักษณะต้องห้าม - เป็น ขรก. พนง.ของรัฐ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ฯลฯ วาระ:๖ ปีเป็นได้ครั้งเดียว ฝ่ายบริหารปลดไม่ได้ ลธ.กพ.เป็นเพียงเลขานุการ กำกับตรวจสอบให้การบริหาร “คน” เป็นไปตามระบบคุณธรรม กำกับตรวจสอบความชอบกฎหมายของกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งของ ก.พ./สรก./ผบ. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์และเรื่องร้องทุกข์ กรอบการพิจารณา หลักการพื้นฐาน พ.ร.บ./กฎหมายลูกบท 5 5

การปรับปรุงระบบอุทธรณ์และร้องทุกข์ เดิม ใหม่ อุทธรณ์ต่อฝ่ายบริหารซึ่งเป็น ผู้ออกคำสั่ง อุทธรณ์ต่อองค์กรที่ไม่มี ส่วนได้เสีย อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ.สามัญ หรือ ก.พ. อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ก.พ.พิจารณาอุทธรณ์แล้ว มีมติ ประการใดต้องเสนอนรม.สั่งการ ก.พ.ค.มีมติประการใด ส่วนราชการต้องปฏิบัติตาม ร้องทุกข์ต่อผบ./อ.ก.พ.สามัญ หรือ ก.พ. ร้องทุกข์ต่อ ผบ.เหนือขึ้นไป เว้นแต่ทุกข์ที่ เกิดจากปลัด,รมต.นรม.ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ ให้ร้องทุกข์ ให้ร้องทุกข์บางกรณีที่ไม่อาจอุทธรณ์ได้ เช่นไม่พ้นทดลอง,ขาดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ ตำแหน่งอยู่ก่อน ให้ร้องทุกข์ต่อก.พ.ค. 6

การอุทธรณ์เก่า กระบวนการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ พรบ. 2535 โทษไม่ร้ายแรง ภาค/ตัด/ลด โทษร้ายแรง คำสั่งลงโทษของ นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง สั่งตามมติ อ.ก.พ.กระทรวง (ไม่ร้ายแรง) ผู้พิจารณาคือ ก.พ. ผู้พิจารณา คือ อ.ก.พ.จังหวัด /กรม /กระทรวง การวินิจฉัยอุทธรณ์ ยกโทษ, เพิ่มโทษ, ลดโทษ, งดโทษ, แก้ไขเปลี่ยนแปลง เพื่อความถูกต้องตามกฎหมายและเกิดความเป็นธรรม การวินิจฉัยอุทธรณ์ ยกโทษ, เพิ่มโทษ, ลดโทษ, งดโทษ, แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพื่อความถูกต้องตามกฎหมายและเกิดความเป็นธรรม รายงานนรม.เพื่อพิจารณาสั่งการ เห็นด้วยตามมติ ก.พ. ไม่เห็นด้วยตามมติ ก.พ. ส่งให้ ครม. พิจารณา ผบ. สั่ง/ปฏิบัติตามมติ อ.ก.พ. กรณีไม่เห็นด้วยกับ คำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้น ผบ. สั่ง/ปฏิบัติตามคำสั่ง นรม.

อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ/สั่งให้ออก กระบวนการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ พ.ร.บ. 2551 การอุทธรณ์ใหม่ อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ/สั่งให้ออก ผู้พิจารณา คือ ก.พ.ค. คกก. วินิฉัยอุทธรณ์ ระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ 120 วัน ขยายไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละ ไม่เกิน 60 วัน (ม.118) การวินิจฉัยของ ก.พ.ค. (ม. 120) ไม่รับอุทธรณ์, ยกอุทธรณ์, มีคำวินิจฉัยให้แก้ไข / ให้ยกเลิกคำสั่งลงโทษ เยียวยาความเสียหาย/ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม เพิ่มโทษไม่ได้ เว้นแต่ได้รับแจ้งจาก ก.พ. ผบ. สั่งภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วันที่ ก.พ.ค. มีคำวินิจฉัย(ม.116) กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุด

การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์เก่า กระบวนการร้องทุกข์ พรบ. 2535 การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์เก่า เหตุเกิดจาก นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง กรณี ผบ. สั่งตามมติ อ.ก.พ.กระทรวง กรณีถูกสั่ง พักราชการ กรณีถูกสั่งให้ออก เหตุเกิดจาก ผู้บังคับบัญชา ผวจ./อธิบดี ผู้พิจารณา คือ ก.พ. ผู้พิจารณา คือ อ..ก.พ.จังหวัด /กรม/กระทรวง คำวินิจฉัยร้องทุกข์ ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขโดยเพิกถอน/ยกเลิกการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกม.ให้ดำเนินการด้วยประการอื่นเพื่อความถูกต้องเป็นธรรม การวินิจฉัยร้องทุกข์ ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขโดยเพิกถอน/ยกเลิกการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกม.ให้ดำเนินการด้วยประการอื่นเพื่อความถูกต้องเป็นธรรม รายงาน นรม. พิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควร ผบ. สั่งและปฏิบัติตามมติ อ.ก.พ. ผบ. สั่งและปฏิบัติตามคำสั่งนรม. กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้น ฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้น กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์

การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ใหม่ กระบวนการร้องทุกข์ ตาม พรบ. 2551 การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ใหม่ เช่น ไม่พ้นทดลอง, ขาดคุณสมบัติ เฉพาะสำหรับตำแหน่งอยู่ก่อน คับข้องใจเกิดจากการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติของ ผบ. การสั่งให้ออกที่ไม่อาจอุทธรณ์ได้ เหตุเกิดจาก ผู้บังคับบัญชา ผวจ./อธิบดี เหตุเกิดจาก นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง ผู้พิจารณาคือ ก.พ.ค. คกก. วินิจฉัยร้องทุกข์ ผู้พิจารณา คือ ผบ.เหนือชั้นขึ้นไป การวินิจฉัยร้องทุกข์ ไม่รับคำร้องทุกข์, ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขหรือเยียวยา, ให้ดำเนินการอื่นใด เพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม การวินิจฉัยร้องทุกข์ ไม่รับคำร้องทุกข์, ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขหรือ เยียวยา, ให้ดำเนินการอื่นใด เพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้น

ดูแลพิทักษ์ ระบบคุณธรรม ประกอบด้วย กรรมการ 7 คน ดูแลพิทักษ์ ระบบคุณธรรม คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม(ก.พ.ค.) เป็นองค์กร กึ่งตุลาการ มีวาระ 6 ปี ทำงานเต็มเวลา

ด้านการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาด บทบาทของ ก.พ.ค. ด้านการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาด ด้านเสนอแนะ เชิงนโยบาย เสนอแนะนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนพิทักษ์ระบบคุณธรรมต่อ ก.พ. และส่วนราชการอื่น พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ พิจารณาเรื่องคุ้มครองระบบคุณธรรม พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์

ภารกิจด้านการวินิจฉัยชี้ขาดของ ก.พ.ค. เพื่อดูแลคุ้มครองสิทธิของ ข้าราชการและคุ้มครอง ประโยชน์ของทาง ราชการให้เกิดดุลยภาพ เรื่องคุ้มครองระบบคุณธรรม เรื่องร้องทุกข์ เรื่องอุทธรณ์

คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) นายศราวุธ เมนะเศวต (ประธาน ก.พ.ค.) ประวัติการศึกษา นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตำแหน่งที่สำคัญในอดีต เลขาธิการ ป.ป.ช. นางจรวยพร ธรณินทร์ ประวัติการศึกษา ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต Florida State University, สหรัฐอเมริกา ตำแหน่งที่สำคัญในอดีต ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นางสุภาวดี เวชศิลป์ ประวัติการศึกษา นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งที่สำคัญในอดีต รองเลขาธิการ ก.พ. นายภิรมย์ ศรีจันทร์ ประวัติการศึกษา พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ตำแหน่งที่สำคัญในอดีต อธิบดีกรมปศุสัตว์ นางสาวทัศนีย์ ธรรมสิทธิ์ ประวัติการศึกษา Master of Public Administration Pennsylvania State University, สหรัฐอเมริกา ตำแหน่งที่สำคัญในอดีต รองเลขาธิการ ก.พ. นายบุญเลิศ ลิ้มทองกุล ประวัติการศึกษา แพทย์ศาตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งที่สำคัญในอดีต ผู้ตรวจราชการกระทรวง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายภิรมย์ สิมะเสถียร ประวัติการศึกษา รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตำแหน่งที่สำคัญในอดีต รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ส่วนเรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์เดิมที่ยื่นต่อ ก. พ ส่วนเรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์เดิมที่ยื่นต่อ ก.พ. ก่อนวันที่ 11 ธันวาคม 2551 1.อ.ก.พ.อุทธรณ์ฯจะดำเนินการเรื่องที่ค้างอยู่ รวม 156 เรื่อง (อุทธรณ์126 เรื่องและร้องทุกข์ 30 เรื่อง) 2. สถิติของข้าราชการพลเรือนที่ถูกลงโทษทางวินัยปี 2551 รวม 706 ราย ได้แก่มหาดไทย 169 ราย, สาธารณสุข 141 , เกษตรและสหกรณ์ 79 , การคลัง 108 , คมนาคม 3 , ศึกษาธิการ 14 , ยุติธรรม 109 , พาณิชย์ 1 , สำนักนายก 8 , อุตสาหกรรม 2 , การต่างประเทศ 2 , วิทยาศาสตร์และเทคโนไม่มี , แรงงาน 18 , พัฒนาสังคม4 , การท่องเที่ยวและกีฬา 4 , ทรัพยากรธรรมชาติ 5 , เทคโนโลยีและการสื่อสาร 3 , พลังงาน 4 , วัฒนธรรม 4 , สำนักพระราชวัง 19 , สำนักราชเลขาธิการ 1 , และสำนักงานอัยการสูงสุด 7

ก.พ.ค. เริ่มรับวินิจฉัย11 ธันวาคม2551-15กุมภาพันธ์2552 มีผู้ยื่นแล้ว 59 เรื่อง ดังนี้ (1) เป็นเรื่องอุทธรณ์ที่ ก.พ.ค. ได้รับไว้พิจารณา และแจกกรรมการเจ้าของสำนวนแล้ว จำนวน 7 เรื่อง (2) เรื่องร้องทุกข์ที่อยู่ในอำนาจของ ก.พ.ค. และแจกกรรมการเจ้าของสำนวนแล้ว จำนวน 7 เรื่อง (3) เรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์ที่ไม่อยู่ในอำนาจพิจารณาของ ก.พ.ค. โดยส่งผิดที่ 27 เรื่อง (4) เรื่องร้องเรียนที่เป็นบัตรสนเท่ห์ 4 ราย (5)อยู่ระหว่างนำเสนอประธานก.พ.ค.สั่งการเรื่องอุทธรณ์ 2 เรื่อง (6) อยู่ระหว่างนำเสนอประธานก.พ.ค.สั่งการเรื่องร้องทุกข์ 1 เรื่อง