ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
Advertisements

ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สังคมศึกษา.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
การเขียนโครงการ.
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
คุณธรรมกับการบริหารจัดการท้องถิ่น
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
YOUR SUBTITLE GOES HERE
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
บทบาทของข้อมูลการตลาด
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
การพัฒนาตนเอง.
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รางรถไฟกับการตัดสินใจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง อ.ชัยวุฑ ตรึกตรอง

รัฐศาสตร์ คำว่า รัฐศาสตร์ มาจากภาษาอังกฤษว่า Political Science คำว่า Politics มีมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ ๒,๔๐๐ ปีมาแล้ว อาริสโตเติ้ล(Aristotle)เขียนหนังสือเก่าแก่ชื่อ “Politics” ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากภาษากรีกคือ โปลิส(Polis) ซึ่งแปลว่า นครรัฐ / เป็นคำที่มีรูปใกล้เคียงกับคำว่า ปุระ หรือ บุรี เช่น ลพบุรี, สิงหบุรี,สุพรรณบุรี ในภาษาอังกฤษก็มี เช่น Johannesburg

กลุ่มอิทธิพลการเมือง - อำนาจ / อำนาจหน้าที่ / อิทธิพล รัฐศาสตร์ ศึกษาอะไร ? - การเมือง - การปกครอง - สถาบันทางการเมือง กลุ่มอิทธิพลการเมือง - อำนาจ / อำนาจหน้าที่ / อิทธิพล - รัฐประศาสนศาสตร์ - การจัดการแจกแจงทรัพยากรของสังคม -ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

แนวคิดของพลาโต(Plato)บิดาแห่งวิชาทฤษฎีการเมือง มนุษย์จะต้องอยู่ร่วมกันเป็นสังคม หน้าที่สำคัญของรัฐคือส่งเสริมให้เกิดคุณความดีและความสุข ดังนั้นรัฐจึงจำเป็นต้องมีสถาบันการปกครองและกฎหมายเพื่อทำให้คนส่วนใหญ่ในรัฐเป็นคนดีมากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ ถ้าสังคมสุข ปัจเจกชนก็สุขไปด้วย พลเมืองจึงควรเป็นผู้มีเหตุผลและประกอบแต่กรรมดี หากเป็นอย่างนั้นก็ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมาย แต่พลาโตเห็นว่าสังคมจะมีคนดังกล่าวจำนวนน้อยนิด รัฐเกิดขึ้นมาเป็นผลสืบเนื่องมาจากความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์ ในหนังสือStatesmanพลาโตกล่าวว่ารัฐบาลที่ปกครองโดยผู้ปกครองที่เป็นปราชญ์นั้นย่อมจะดีกว่าการปกครองโดยกฎหมาย

แนวคิดอาริสโตเติล(Aristotle)บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์ ในหนังสือPoliticsของอาริสโตเติล กล่าวเน้นให้เห็นความสำคัญของการมีกฎหมาย เขาเห็นว่ากฎหมายจะต้องมีลักษณะเป็นอำนาจสูงสุด มิใช่ว่าเพราะมนุษย์อยู่ในสภาพที่ช่วยตัวเองไม่ได้แต่ต้องการให้กฎหมายเป็นสิ่งจำเป็นของรัฐบาลที่ดี จะทำให้รัฐมีความเป็นรัฐอย่างแท้จริงในอุดมคติ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองที่ชอบด้วยกฎหมาย(รัฐธรรมนูญ)กับประชาชนนั้นไม่ได้มีใครเป็นทาสหรือถูกกดขี่แต่กลับทำให้ประชาชนมีความเสมอภาคกันทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม มิได้หมายความว่าจะเป็นการปกครองตามอำเภอใจของผู้ปกครอง

เป็นการปกครองโดยกฎหมายในรูปของรัฐบาล ซึ่งผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครองต่างเป็นเสรีชน(Free man) อาริสโตเติล ไม่เห็นด้วยกับพลาโตในความคิดที่ว่า การปกครองโดยนักปราชญ์จะมีประสิทธิภาพกว่าการปกครองโดยกฎหมาย เพราะเห็นว่านักปกครองที่ฉลาดที่สุดก็ไม่สามารถบริหารงานได้หากไม่มีกฎหมายเป็นเครื่องมือ และเขายังเชื่อว่าการปกครองโดยกฎหมายเป็นภาวะที่สอดคล้องกับเกียรติภูมิ(Dignity)ของมนุษย์อีกด้วย

การเมืองคืออะไร ? การเมืองคือ กระบวนการและวิธีการที่จะได้มาและรักษาการสนับสนุนกิจกรรมที่ทำในนามสาธารณะ หรือ กิจกรรมที่มีผลกระทบต่อส่วนรวม แม้คำนี้จะถูกใช้กับรัฐบาลแต่กิจกรรมที่มีลักษณะของการเมืองก็เกิดขึ้นและพบเห็นได้ในทุกกลุ่มคนที่ปฏิสัมพันธ์กันทั้งในองค์กรวิชาชีพ องค์วิชาการและแม้กระทั่งในวงการศาสนา

ตามคำนิยามของนักปราชญ์ เพลโต : เป็นกิจกรรมที่แสวงหาความยุติธรรมและเพื่อการดำรงชีวิตที่ดีของสังคม อาริสโตเติล: การใช้อำนาจหน้าที่เพื่อสาธารณประโยชน์ ฮาโรลด์ ลาสเวลล์: เป็นเรื่องของการใช้อำนาจหน้าที่เพื่อจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ว่า ใครจะได้อะไร เมื่อใดและอย่างไร พุทธทาสภิกขุ : ระบบการจัดหรือการกระทำเพื่อคนจำนวนมากจะอยู่กันโดยปราศจากปัญหาโดยไม่ต้องใช้อาชญา (ไม่ต้องใช้อาวุธ ไม่กระทำหิงสา การทำร้ายกัน ฆ่ากัน เป็นต้น)

ชัยอนันต์ สมุทวณิช: การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ คือ ผู้ทำหน้าที่บังคับ กับ ผู้ถูกบังคับเสมอ