METABOLIC RELATED OBESITY

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 23 มีนาคม 2552
TOPICS 1. Obtaining and digesting of food (Digestive system)
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
การจัดกลุ่มโรคตามบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10
The Impact of Sleep deprivation on Animal Health
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
Protein.
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
รายงานสุขศึกษา เรื่อง : โรคคอพอก ส่ง อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย 1. ด. ญ
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
Ovarian tumor, morbid obesity
ความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว
Vilasinee Hirunpanich B. Pharm(Hon), MSc in Pharm (Pharmacology)
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
New drugs treatment of type 2 DM
Doctor’s Orders. Take up to start doing a particular job or activity. Take up เริ่มต้นดำเนินการ.
DPAC Module 6 Risk Management & Refer
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
วิธีใช้งาน 1. ใช้เม้าส์คลิกลูกศรที่อยู่ข้างล่างจอภาพ เพื่อ เลื่อนหน้าไปหรือกลับ 2. หรือ ใช้เม้าส์เลื่อนไปกดสัญลักษณ์จอภาพ ยนต์ ที่อยู่มุมล่างขวามือ เพื่อขยายเต็มจอ.
จัดทำโดย นสภ. มารุตต์ ตรีอินทอง รหัส มหาวิทยาลัยนเรศวร
แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท กลุ่มโรคไม่ติดต่อ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
Jinnpipat Choopanya, M.D.,M.P.H.M. Mukdahan Provincial Chief Medical Officer.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
21/02/54 Ambulatory care.
Thyroid gland.
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
สรีระวิทยาของการออกกำลังกาย
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
Case study 4 Iron overload in thalassemia intermedia
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
โรคกระดูกพรุน.
ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
Facilitator: Pawin puapornpong
Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva-Isarakul
พญ. ศรัญญา เต็มประเสริฐฤดี, อายุรแพทย์ โรงพยาบาลสุไหงโกลก
Obesity พญ. หทัยทิพย์ ต่างงาม โรงพยาบาลนครพิงค์.
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
ใบสำเนางานนำเสนอ:

METABOLIC RELATED OBESITY Seminar Gr.3 พูดถึงหัวข้อที่เราศึกษา พูดชื่อเพื่อนทั้งหมด เพื่อนยืนหน้าห้อง พร้อมยกมือไหว้(จะได้รู้ว่าใครชื่ออะไร) โรคอ้วนที่เกิดจากกระบวนการmetabolism ที่ผิดปกติ !!

BCS จากรูปภาพในสไลด์ เป็น ค่าคะแนนความสมบูรณ์ของร่างกาย body condition score นั้นแบ่งออกเป็น 5 ระดับคือ สีเหลืองครับ คือ ผอมมาก มีค่า BSC (1/5) สามารถคลำพบกระดูกซี่โครงได้อย่างง่าย ไม่พบไขมันชั้นปกคลุมบริเวณซี่โครง พบรอยคอดอย่างชัดเจนบริเวณท้อง สีเขียว คือ น้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐาน มีค่า BSC (2/5) จะพบชั้นไขมันปกคลุมกระดูกซี่โครงเล็กน้อย พบลักษณะเอวคอดคล้ายกับนาฬิกาทราย สีฟ้า คือ น้ำหนักมาตรฐาน มีค่า BSC (3/5) บริเวณกระดูกซี่โครงมีชั้นไขมันปกคลุม ของสัตว์ที่พบว่าจะมีลักษณะเอวคอดเล็กน้อย และเมื่อมองจากด้านข้างจะพบรอยคอดเล็กน้อยเช่นกันบริเวณท้อง ซึ่งคะแนนBCS 3 ใน 5 คือเป็นน้ำหนักมาตรฐานของสุนัขทั่วไป สีม่วง คือ น้ำหนักเกินมาตรฐาน มีค่า BSC (4/5) ระดับนี้เราจะไม่เจอกระดูกซี่โครง แผ่นหลังมีขนาดกว้างมากขึ้น เมื่อมองจากด้านข้าง อาจพบรอยคอดได้เล็กน้อยจนถึงมองไม่เห็นเลย สุดท้ายคือสีส้ม คือ อ้วน มีค่า BSC (5/5) มีชั้นไขมันมาปกคลุมหนามากคลำพบตัวกระดูกได้ยาก แผ่นหลังกว้างมาก และเมื่อมองจากด้านข้างจะพบว่าท้องห้อยขยายลงมาทางด้านล่างมากขึ้น มองไม่พบรอยคอดของเอวเลยเนื่องจากมีชั้นไขมันมาปกคลุมด้านข้างมาก ดังนั้น การมี BCS ในระดับ 5/5 จึงจัดเป็นโรคอ้วน ถ้า 4/5 จะจัดว่าอยู่ในระดับน้ำหนักเกินมาตรฐาน

โรคอ้วน ภาวะโรคอ้วน คือ ภาวะที่ร่างกายมีการสะสมไขมัน ส่วนเกินมากเกินไป ในสุนัขที่จัดว่าเป็นโรคอ้วนต้องมีคะแนน รูปร่าง หรือ เรียกว่า Body condition score อยู่ที่ระดับ 5 ใน 5 การบ่งชี้ว่าสัตว์มีปัญหาโรคอ้วน การศึกษาของกลุ่ม จะเป็นการศึกษาจาก case จริงบนโรงพยาบาลสัตว์ เกี่ยวกับความผิดปกติของ metabolism ที่ส่งผลให้เกิดโรคอ้วนที่เกิดขึ้นในสุนัข โดย ภาวะโรคอ้วนในสุนัขนั้นเป็นภาวะของโรคที่แสดงอาการความผิดปกติของสุนัขที่เห็นได้อย่างชัดเจน ซึ่งภาวะโรคอ้วน คือ ภาวะที่ร่างกายมีการสะสมไขมันส่วนเกินมากเกินไป ในสุนัขที่จัดว่าเป็นโรคอ้วนต้องมีน้ำหนักตัวมากกว่า 30% ของน้ำหนักมาตรฐานของแต่ละพันธุ์ หรือมีคะแนนรูปร่าง หรือเรียกว่า Body condition score อยู่ที่ระดับ 5 ใน 5 การบ่งชี้ว่าสัตว์มีปัญหาโรคอ้วน

สาเหตุของโรคอ้วน primary cause metabolism at Liver สำหรับสาเหตุทั่วไปที่ทำให้เกิดโรคอ้วน ส่วนใหญ่เกิดจากความไม่สมดุล ระหว่าง การได้รับ และ การใช้พลังงานของสัตว์ เช่น การได้รับพลังงานมากเกินกว่าความต้องการใช้พลังงาน หรือ การได้รับพลังงานปกติแต่ความต้องการใช้พลังงานลดลง // ซึ่งความไม่สมดุลของพลังงานนี้จะทำให้มีพลังงานส่วนเกินที่จะถูกนำไปสะสม ซึ่งส่วนใหญ่จะสะสมอยู่ในรูปไขมันจึงทำให้เกิดปัญหาโรคอ้วนตามมา โดยภาวะโรคอ้วนจะมีความผิดปกติจาก primary cause ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของการ metabolism ที่ตับ หรือ เกิดจาก secondary cause เช่น ความผิดปกติของต่อมหมวกไตชั้นนอก ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ ความผิดปกติของตับอ่อน และระดับไขมันในเลือดสูง เป็นต้น และที่สำคัญโรคอ้วน จะทำให้ภาวะของโรคที่สัตว์เป็นอยู่แย่ลงกว่าเดิม primary cause metabolism at Liver secondary cause Adrenal gland , Thyroid gland , endocrine pancreas , Lipemia

กรณีศึกษา BCS= 5/5 Previous history: Male Bangkreaw intact 8 years old, 49 Kg Previous history: On dermatology treatment of thyroid supplement but was off it for a year On insulin 2 year ago for a month; insulin shock so discontinue insulin supplement Chief Complaint: Non weight bearing both hind limb. No neuro deficit on examination PU/PD Polyphagia Physical examination: Depress and responsiveness panting, lung sound crackle alopecia potted belly BCS= 5/5 **ส่วนสไลด์ควรใช้ signalment แบบภาษาอังกฤษ หรือแบบแปลแล้วดี ??? สุนัขที่ศึกษา เป็นสุนัขพันธุ์บางแก้ว เพศผู้ ทำหมันแล้ว อายุ 8 ปี น้ำหนัก 49 กิโลกรัม ซึ่งประวัติก่อนหน้าการศึกษาเคยได้รับการรักษาโรคผิวหนัง ด้วยฮอร์โมน Thyroid แต่หยุดการรักษาด้วยฮอร์โมนไปแล้วประมาณ 1 ปี และได้รับการรักษาภาวะเบาหวานด้วยการฉีด insulin เมื่อ 2 ปีก่อน แต่พบว่าสัตว์เกิดภาวะ insulin shock ทำให้หยุดรักษาด้วย insulin หลังจากนั้นไม่พบภาวะน้ำตาลสูงอีก

กรณีศึกษา Xray examination Increase density at perihilar area VHS 12.5 (normal : 8.5-10.5) Enlarged liver Calculi at renal pelvis (right) Ultrasound examination Heterogenous parenchyma with diffuse white steak throughout the liver : possibly marked fatty liver. Gall sludge without shadow and bile duct dilation. Increase calcified appearance at right renal pelvis ; possibly renal calculi. Enlarged heterogenous parenchyma of both prostate gland without vacuole กรณีศึกษา ระวังโดนถามว่า Polyphagia เพราะอะไร ???? ประวัติการป่วยในปัจจุบัน สุนัขมาหาหมอด้วยอาการขาหลังทั้ง 2 ข้างรับน้ำหนักไม่ได้ แต่เมื่อทำการตรวจระบบประสาท ไม่พบความผิดปกติทางระบบประสาท และมีอาการกินน้ำมาก ปัสสาวะมาก เมื่อถามถึงการกินอาหารพบว่า ก่อนหน้านี้ มีการกินอาหารที่ปกติ แต่เมื่อผ่านมาไม่นาน มีการกินที่มากขึ้น เมื่อทำการตรวจร่างกาย พบสุนัขมีอาการ ซึม หอบหายใจแรง เมื่อฟังเสียงปอดพบว่ามีอัตราการหายใจสูงกว่าปกติ พบอาการขนร่วง (Alopecia) และพุงห้อยยาน ส่วนผลการตรวจ X-ray พบลักษณะหัวใจโตขึ้นโดยมีค่า VHS เท่ากับ 12.5 ซึ่งเป็นค่ามากกว่าปกติ แสดงถึงภาวะ Cardiac enlargement พบภาวะตับโต และ พบลักษณะคล้ายก้อนนิ่วที่บริเวณกรวยไต +!!!**** ค่าปกติเอาออก

ผลตรวจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ 13.4 X 106 /cumm 6.0-17.0 จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผลว่า จากตารางการตรวจเลือด พบว่าให้ผลตรวจดังนี้ โดยตัวสีแดงคือค่าสูงกว่าค่าปกติ และตัวสีน้ำเงินคือค่าต่ำกว่าปกติ ส่วนตัวสีดำคือค่าอยู่ในระดับปกติครับ ซึ่งสุนัขมีภาวะ neutrophilia , lymphopenia, eosinopenia   !!! ต้องบอกว่าทำไมเราตรวจ cortisol & thyroid ต้องมีที่มา !!\ neutrophilia lymphopenia eosinopenia

ผลตรวจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ thrombocytosis 540x103 / hyperProteinemia Hypercholesterolemia - thrombocytosis - Proteinemia - พบภาวะ azothemia - Enzyme amino transferase และ Enzyme alkaline phosphatase สูงกว่าปกติ Hypercholesterolemia hypertriglyceridemia hyperproteinemia hyperalbuminemia Lipemia ซึ่งค่าปกติของการตรวจอ้างอิงจากใบ ผลตรวจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ของโรงพยาบาลสัตว์ ม.เกษตร hypertriglyceridemia hyperproteinemia hyperalbuminemia gm%

ผลตรวจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Sp.Gr. 1.015 1.020-1.045 (concentrate urine) >20/HPF >20/HPF 0-5/HPF และทำการตรวจปัสสาวะ หรือ Urinalysis และเมื่อนำผลเทียบกับค่าปกติ พบว่ามีความผิดปกติ ดังนี้ ค่า specific gravity มีระดับปกติ จัดเป็น isostethuria (ค่าผิด ต้องต่ำกว่าปกติ 1.020-) และตรวจพบ โปรตีน, แบคทีเรีย , epithelium ที่หลุดลอก และพบผลึกของ calcium oxalate ในปัสสาวะ ซี่งปกติจะไม่พบในปัสสาวะ และพบเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว ปะปนมาในปัสสาวะมากกว่าปกติ

ผลตรวจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการทดสอบการทำงานของต่อมหมวกไต ผลการตรวจระดับ serum thyroid hypercortisolism การทดสอบเพื่อดูว่าสุนัขเรามีภาวะ hypercortisolism หรือไม่ โดยดูจาก ให้ ACTH เพื่อทดลองกระตุ้น adrenal gland ปรากฏว่าสุนัขของเรามีการตอบสนองได้ปกติ เราจึงทดสอบด้วยการให้ dexamethazole ซึ่งเป็น synthetic cortisol เพื่อวัด negative feedback ของ cortisol ที่ไปยัง pituitary gland ซึ่งในสุนัขปกติควรจะมีระดับ cortisol ลดลงเรื่อยๆ แต่ในสุนัขของเราพบว่ายังคงมีระดับสูงอยู่ ซึ่งหมายความว่ามีความผิดปกติที่ pituitary gland จากตารางได้ทำการตรวจวัดค่าเบื้องต้น 3 ค่า ประกอบด้วย Canine TSH, Canine TT4, และ Free T4 สำหรับค่า Canine TSH คือค่าที่บอกถึงปริมาณของสัญญาณตัวกระตุ้นต่อมไทรอยด์ ซึ่งหลั่งมาจากต่อมใต้สมอง ค่า TT4 เป็นค่าที่บอกถึงระดับของไทรอยด์ฮอร์โมนที่จับกับโปรตีนและส่วนที่เป็นอิสระ สำหรับค่าสุดท้ายคือ Free T4 เป็นค่าที่บอกถึงระดับไทรอยด์ฮอร์โมนที่เป็นอิสระซึ่งไม่ได้จับกับโปรตีน การตรวจวัดระดับของ TT4 และ Free T4 ในครั้งแรก พบว่ามีระดับที่อยู่ในระดับที่ปกติ และต่ำกว่าปกติเล็กน้อยตามลำดับ และเมื่อตรวจวัดครั้งที่สองพบว่า ระดับของ TT4 และ Free T4 ลดลงมากจนมาอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าปกติ จากการตรวจระดับของ TSH ในครั้งแรก พบว่ามีระดับที่สูงกว่าปกติ และในการตรวจวัดครั้งที่สองพบว่า ระดับของ TSH ก็ยังพบว่าอยู่ในระดับที่สูงกว่าปกติ ซึ่งหมายความว่ามีความผิดปกติที่ pituitary gland บอกว่าถ้า TSH สูง คอร์ติซอล สูง จะไปกด การทำงาน thyrotrope ...( รอ ref.จากโอ๊ต ) แต่ ไทโรโทป มันเป็น tumor เลยไปกดไม่ได้ คอร์ติซอล สูง ไปกดการทำงาน corticotrope แต่มันไม่สามารถกดได้ (เพราะอะไร?? ) เลยทำให้ พอพูดทั้ง สองตัวฮอร์โมนจบแล้ว ให้สรุปว่า เฮ้ย มันผิดปกติที่ pituitary เหมือนกัน และจากการแปลผลการตรวจทั้งสองวิธีพบว่า hypothyroidism

Neurohormonal Regulation (รูปบนกระดานเมื่อวาน เดี๋ยวจะทำเส้นประแสดงผิดปกติทีหลังนะคะ) จากแผนผังเพื่อความเข้าใจง่ายนะครับ เราจะมองที่ corticotrope และ thyrotrope ใน pituitary gland ระดับ cortisol ที่สูงจะเกิด negative feedback ไปยับยั้งการทำงานของ corticotrope ส่วนระดับของ thyroxine ที่สูงจะเกิด negative feedback ไปยับยั้งการทำงานของ thyrotrope เช่นกัน และจากตารางในสไลด์ก่อนหน้านี้ พบว่า ระดับ TSH ของสุนัขเราสูงกว่าปกติ แต่ระดับ ไทรอยด์ฮอร์โมน ไม่สูงตามไปด้วย แสดงว่าสุนัขของเรามีความผิดปกติที่ pituitary gland และประกอบกับ ระดับของ cortisol ที่สูง ยังไปกดการทำงานของต่อมไทรอยด์ โดยกดการหลั่งของไทรอยด์ฮอร์โมน // จึงเป็นเหตุผลที่ว่า แม้จะมีการกระตุ้นจาก TSH ที่สูง แต่กลับทำให้ระดับของ TT4 อยู่ในระดับต่ำ

Overview Obese Death PU/PD Alopecia Cystitis Urinary stone ซ้ำเติม -Hyperlipemia -Hepatic enlargement -Potted belly -Panting -Cardiac enlargement -Visceral fat -Non-weight bearing PU/PD Alopecia Cystitis Urinary stone และไปทำให้การดำเนินของกลุ่มภาวะ A ส่งผลเสียต่อร่างกายสัตว์ และยังไปส่งเสริมให้เกิด  โรคอ้วน ดังนั้นโรคอ้วน จะทำให้ภาวะของโรคที่สัตว์เป็นอยู่แย่ลงกว่าเดิม  และยังมีการดำเนินของโรคอื่นๆที่ไม่กี่ยวข้องโรคอ้วน (กลุ่มอาการB) แต่ยังส่งผลเสียต่อร่างกายสัตว์ และอาจทำให้สัตว์เสียชีวิตได้เช่นกัน * หมายเหตุ  กลุ่มอาการ A =  - lipid metabolism ผิดปกติ - potted belly - cardiorespiratory - non-weight กลุ่มอาการ B =  - ภาวะ renal  - ขนร่วง  เป็นต้น Death

ที่ซ้ำเติมภาวะ obesity ผลจากภาวะ Hypercortisolism ร่วมกับ Hypothyroidism ที่ซ้ำเติมภาวะ obesity

Discussion : ผลของ hypothyroidism และ hypercorticolism ต่อ Discussion : ผลของ hypothyroidism และ hypercorticolism ต่อ กระบวนการ metabolism alopecia Cortisol+hypothyroid ภาวะ Hypercortisolism และ Hypothyroid จะมีผลยับยั้ง hair cycle ทำให้เกิดอาการขนร่วงแบบbilaterally symmetrical alopecia หรือก็คือขนร่วงเท่ากันสองข้าง และCortisol ที่สูงขึ้นจะไปกระตุ้นการสลายโปรตีนในกล้ามเนื้อ ได้เป็น Alanine และถูกขนส่งไปยังตับ เข้าสู่วิถี Gluconeogenesis ได้เป็นกลูโคสออกมา ทำให้เกิดภาวะ hyperglycemia แต่เนื่องจากเกิด hypothyroid ร่วมด้วย ร่างกายจึงมีความต้องพลังงานลดลง ทำให้มีการขนส่งกลูโคสกลับมายังตับ และสะสมในรูป Glycogen มากขึ้น นอกจากนี้Cortisol ยังส่งผลให้เกิดการสลาย TG ที่ adipose tissue ออกมาเป็น FFA และ glyceral ขนส่งเข้าสู่กระแสเลือด จะส่งผลให้เกิด hyperlipemia จากที่กล่าวมา จะสังเกตเห็นว่า แม้ Hypercortisolism จะมีผลทำให้เกิด Catabolism สูง แต่หากมีภาวะ Hypothyroidism ร่วมด้วย จะทำให้ร่างกายมีการใช้พลังงานที่ลดลง ดังนั้นส่วนที่เหลือจากใช้งานจะกลับไปเก็บสะสม Glycogen ที่ตับ หรือ TG ที่ adipose tissue ทำให้เกิดโรคอ้วนในที่สุด Hepatic Enlargement

สลายโปรตีนใน กล้ามเนื้อ Discussion : ผลของ hypercortisolism ต่อภาวะโรคอ้วน และ hepatic enlargement Subcutaneous Visceral fat Glycerol Cortisol TG FFA TG LPL ทำงาน TG Central Obesity Hepatic enlargement Glycerol FFA Liver Glycogen Insulin resistance พลังงาน VLDL TG Glucose สลายโปรตีนใน กล้ามเนื้อ Fatty liver Alanine

Discussion : ผลของ hypothyroidism และ hypercorticosolism Discussion : ผลของ hypothyroidism และ hypercorticosolism ต่อภาวะโรคอ้วน และ hepatic enlargement Thyroid hormone Thyroxine hormone (T3) LDL receptor จับกับ HDL ไม่ได้ ยับยั้งการทำงานของ Lipoprotein lipase Fatty Liver LDL , HDL Chylomicron , VLDL Hypertriglyceridemia Lipemia Hypercholesterolemia Metabolism Obesity

Discussion : ผลของ hypothyroidism และ hypercortisolism ต่อภาวะ biliary sludge Thyroid h. Cortisol Calcium Gall Sludge Gall sludge เป็นภาวะที่มีตะกอนลักษณะคล้ายนิ่วอยู่ใน gall bladder เกิดจากการที่มี cortisol สูง จะส่งผลให้มี FFA สูงขึ้นในกระแสเลือด ส่งผลให้เกิดการสะสมที่ capsule ของ gall bladder ซึ่งจะขัดขวางการบีบตัวของ gall bladder เกิดภาวะ bile stasis นอกนี้การมีระดับ cholesterol สูงในกระแสเลือดยังส่งผลให้ bile มีความหนืดเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิด gall sludge

Discussion : ผลของ hypercortisolism ต่อภาวะ Panting จากผลของ Cortisol ทำให้เกิดจากการสลายโปรตีนในกล้ามเนื้อ บริเวณ กระบังลม ทำให้การหดตัวและขยายตัวของกระบังลมแย่ลง ทำให้สุนัข หายใจลำบากยิ่งขึ้น ร่วมกับ ภาวะ potted belly เป็นผลให้ abdominal pressure สูงขึ้น ส่งเสริมทำให้การ หด-ขยายตัวของกระบังลมทำได้ยากขึ้น ส่งผลให้ สัตว์ หายใจลำบากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผลของ cortisol มีผลทำให้ clotting factor และ fribrinogen สูงขึ้น และ TAT ลดลง ทำให้มีโอกาสเกิดก้อน Thrombous ได้ง่ายขึ้น เหนี่ยวนำทำให้เกิด Pulmonary thromboembolism ส่งเสริมให้สัตว์หายลำบากยิ่งขึ้น ทั้งสามทางทำให้ ventilation ลดลง ร่างกายเสี่ยงต่อ tissue hypoxia ทำให้ร่างกายต้องมีการปรับตัวโดย เพิ่มอัตราการหายใจ Respiratory Failure

ß –Adrenergic recepter Discussion : ผลจาก hypercortisolism และ hypothyroidism ต่อภาวะ Cardiac Enlargement RAA system Heart failure Reabsorb Na+,H2o Metabolic rate Panting จากผลของ Cortisol ทำให้เกิดจากการสลายโปรตีนในกล้ามเนื้อ บริเวณ กระบังลม ทำให้การหดตัวและขยายตัวของกระบังลมแย่ลง ทำให้สุนัข หายใจลำบากยิ่งขึ้น ร่วมกับ ภาวะ potted belly เป็นผลให้ abdominal pressure สูงขึ้น ส่งเสริมทำให้การ หด-ขยายตัวของกระบังลมทำได้ยากขึ้น ส่งผลให้ สัตว์ หายใจลำบากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผลของ cortisol มีผลทำให้ clotting factor และ fribrinogen สูงขึ้น และ TAT ลดลง ทำให้มีโอกาสเกิดก้อน Thrombous ได้ง่ายขึ้น เหนี่ยวนำทำให้เกิด Pulmonary thromboembolism ส่งเสริมให้สัตว์หายลำบากยิ่งขึ้น ทั้งสามทางทำให้ ventilation ลดลง ร่างกายเสี่ยงต่อ tissue hypoxia ทำให้ร่างกายต้องมีการปรับตัวโดย เพิ่มอัตราการหายใจ Normal HR Cardiac muscle ß –Adrenergic recepter Na+-K+ ATPase Ca2+ channel Metabolic rate hypothyroidism

Discussion : ผลจาก hypercortisolism ต่อภาวะ Non-Weight Bearing Non wright bearing จากผลของ cortisol ที่สูง มีผลให้การทำงานของ Osteoclast สูงขึ้น แต่ การทำงานของ osteoblast ลดลง เป็นผลทำให้การสร้างกระดูกลดลง ส่งผลให้ เกิดภาวะ osteoporosis ร่วมกับ การสลาย muscle mass บริเวณ ขาหลัง และ Cortisol ที่สูงมีผลลดการทำงาน ของ Vit D ทำให้การดูดซึม Ca ที่ลำไส้เล็กลดลง และ เพิ่มการขับ Ca ออกที่ท่อไต >>>>hypocalcemia ส่งผลกระตุ้นการทำงานของ PTH ผลของ PTH ทำให้เกิดการสลายกระดูกมากขึ้น ส่งเสริมภาวะ Ostroperosis และ จากผลของ ระดับของ T4(Hypothyroid)ที่ลดลงส่งเสริมให้เกิดภาวะอ้วน ทำให้การรับน้ำหนักแย่ลง อาการที่แสดงออกมา คือ สุนัข ลงน้ำหนักที่ขาหลังไม่ได้

ปี 2012 ก่อนเริ่มแสดงอาการ Discussion : ผลจาก hypercortisolism ต่อภาวะ Potted Belly Potted belly จากภาวะ cortisol สูง มีผล ทำให้เกิดการสลาย โปรตีนบริเวณ Abdominal muscle ทำให้มวลของกล้ามเนื้อลดลง สังเกตได้จาก บริเวณหน้าบางลง นอกจากนี้ เป็นผลจาก ตับโต(จากผลของ Cortisol และ Hypothyroid) และ การสะสม visceral fat บริเวณ Abdominal ทำให้เห็นลักษณะทางกายภาพ คือ ท้องโย้ ปี 2012 ก่อนเริ่มแสดงอาการ ปี 2013 หลังแสดงอาการ

อาการอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะ Hypercortisolism

ผลตรวจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Reminding ผลตรวจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Sp.Gr. 1.015 1.020-1.045 (concentrate urine) และทำการตรวจปัสสาวะ หรือ Urinalysis และเมื่อนำผลเทียบกับค่าปกติ พบว่ามีความผิดปกติ ดังนี้ ค่า specific gravity มีระดับปกติ จัดเป็น isostethuria (ค่าผิด ต้องต่ำกว่าปกติ 1.020-) และตรวจพบ โปรตีน, แบคทีเรีย , epithelium ที่หลุดลอก และพบผลึกของ calcium oxalate ในปัสสาวะ ซี่งปกติจะไม่พบในปัสสาวะ และพบเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว ปะปนมาในปัสสาวะมากกว่าปกติ

Discussion : ผลจาก hypothyroidism และ hypercortisolism Discussion : ผลจาก hypothyroidism และ hypercortisolism ต่อภาวะ Cystitis และ PU/PD Suppress function of ADH Cystitis PU PD ผลของ Cortisol ที่สูงขึ้นมีผลยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน โดยลดการแสดงออกของโมเลกุลต่างๆ บนผิวเม็ดเลือดขาว และ ระดับของ Thyroid Hormone ที่ลดลงมีผลต่อ Metabolism ของเซลล์ที่ลดลง ทำให้เซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันมีการทำหน้าที่ลดลง ซึ่งจากกระบวนการที่กล่าวมาข้างต้นมีส่วนทำให้เชื้อสามารถบุกรุกเข้าในชั้นเนื้อเยื่อที่ลึกขึ้นก่อให้เกิดการอักเสบที่รุนแรงมากขึ้น ผลที่ตามมาจากกระบวนการอักเสบทำให้มีการทำลายของหลอดเลือด และ มีเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว หลุดออกมาจากหลอดเลือดที่ถูกทำลายทำให้พบเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ (Hematuria & Pyuria) และ โปรตีนที่เกิดจากการอักเสบหลุดออกจากหลอดเลือด (Proteinuria) และ เชื้อแบคทีเรียที่ก่อโรค (Bacteriuria) หลุดมาในปัสสาวะ นอกจากนี้ระดับของ Cortisol ที่สูงขึ้นจากภาวะ Hypercortisolism มีผลทำให้กดการหลั่งและการทำงานของ ฮอร์โมน ADH ที่ระดับ basal level มีผลทำให้ Permeable ต่อน้ำ ที่ collecting duct ลดลง ทำให้การดูดกลับน้ำลดลงเป็นทำให้ปัสสาวะมีความเจือจาง (Low urine specific gravity)>>> Sp.Gr ต่ำ และ ปัสสาวะมีปริมาณมาก (Polyuria) ซึ่งเป็นผลให้ร่างกาย กินน้ำที่มากขึ้นเพื่อชดเชยภาวะที่ปัสสาวะ มากขึ้น (Polydipsia) Transitional epithelium cell

Discussion : ผลของ hypercortisolism Urinary Stone

Discussion : ผลของ hypercortisolism Urinary Stone Cause of Urinary stone Cortisol CaOx   จากผล x ray & urinalysis สาเหตุการเกิดนิ่วเกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ focus ที่ผลของ cortisol ซึ่ง cortisol จะส่งผลต่อ สมดุล Ca โดยลดการทำงานของ Vit d ลดการดูดซึม Ca กลับที่ท่อไต เหนี่ยวนำทำให้เกิด hypercalciuria และผลของ การมีระดับของ Ca ในปัสสาวะสูงเหนี่ยวนำทำให้เกิด นิ่ว นอกจากนี้ ทำให้ร่างกาย detect ว่า Ca ในกระแสเลือดลดลง เป็นผลให้กระตุ้น PTH เพื่อ ปรับระดับ Ca ในกระแสเลือด เข้าสู่สมดุล แต่ Cortisol มีผลกดการทำงานของ PTH อยู่ ทำให้ชดเชย สมดุลของ Ca เกิดขึ้นไม่ได้

Final Overview กำลังทำค่ะ Non-weight bearing Alopecia osteoporosis Bone resobtion กำลังทำค่ะ

สรุปกรณีศึกษา ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับระบบต่อมไร้ท่อ อาจเกิดขึ้นได้จากตัวของต่อมหมวกไต และต่อมไทรอยด์เอง หรืออาจเกิดจากความผิดปกติของ ต่อมใต้สมองส่วนหน้าที่มีส่วนในการกระตุ้นหรือ ยับยั้งการทำงานของอวัยวะที่มีหน้าที่ในการผลิต ฮอร์โมน สรุป จากการศึกษาตัวอย่าง สุนัขพันธุ์ บางแก้ว เพศผู้ ทำหมันแล้ว อายุ 8 ปี น้ำหนัก 49 กิโลกรัม พบว่ามีความผิดปกติที่ระบบต่อมไร้ท่อ จึงปรากฏอาการในสุนัขตัวอย่างคือ hypercortisolism และ hypothyroidism ส่งผลให้เกิดภาวะโรคอ้วน,ขนร่วง,cardiac enlargement, hepatic enlargement, insulin resistance, panting, lipemia, non-weight bearing, potted belly, gall sludge,cystitis ซึ่งความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับระบบต่อมไร้ท่ออาจเกิดขึ้นได้จากตัวของต่อมหมวกไต และต่อมไทรอยด์เอง หรืออาจเกิดจากความผิดปกติของต่อมใต้สมองส่วนหน้าที่มีส่วนในการกระตุ้นหรือยับยั้งการทำงานของอวัยวะที่มีหน้าที่ในการผลิตฮอร์โมน เรียกความผิดปกติเหล่านี้ว่า ภาวะ multiple endocrinopathy

Overview Obese Death PU/PD Alopecia Cystitis Urinary stone ซ้ำเติม -Hyperlipemia -Hepatic enlargement -Potted belly -Panting -Cardiac enlargement -Visceral fat -Non-weight bearing PU/PD Alopecia Cystitis Urinary stone และไปทำให้การดำเนินของกลุ่มภาวะ A ส่งผลเสียต่อร่างกายสัตว์ และยังไปส่งเสริมให้เกิด  โรคอ้วน ดังนั้นโรคอ้วน จะทำให้ภาวะของโรคที่สัตว์เป็นอยู่แย่ลงกว่าเดิม  และยังมีการดำเนินของโรคอื่นๆที่ไม่กี่ยวข้องโรคอ้วน (กลุ่มอาการB) แต่ยังส่งผลเสียต่อร่างกายสัตว์ และอาจทำให้สัตว์เสียชีวิตได้เช่นกัน * หมายเหตุ  กลุ่มอาการ A =  - lipid metabolism ผิดปกติ - potted belly - cardiorespiratory - non-weight กลุ่มอาการ B =  - ภาวะ renal  - ขนร่วง  เป็นต้น Death

Thank you for your attention Any Question? สรุป จากการศึกษาตัวอย่าง สุนัขพันธุ์ บางแก้ว เพศผู้ ทำหมันแล้ว อายุ 8 ปี น้ำหนัก 49 กิโลกรัม พบว่ามีความผิดปกติที่ระบบต่อมไร้ท่อ จึงปรากฏอาการในสุนัขตัวอย่างคือ hypercortisolism และ hypothyroidism ส่งผลให้เกิดภาวะโรคอ้วน,ขนร่วง,cardiac enlargement, hepatic enlargement, insulin resistance, panting, lipemia, non-weight bearing, potted belly, gall sludge,cystitis ซึ่งความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับระบบต่อมไร้ท่ออาจเกิดขึ้นได้จากตัวของต่อมหมวกไต และต่อมไทรอยด์เอง หรืออาจเกิดจากความผิดปกติของต่อมใต้สมองส่วนหน้าที่มีส่วนในการกระตุ้นหรือยับยั้งการทำงานของอวัยวะที่มีหน้าที่ในการผลิตฮอร์โมน เรียกความผิดปกติเหล่านี้ว่า ภาวะ multiple endocrinopathy