ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.
Advertisements

สิทธิในการศึกษาของคนพิการ
สิทธิเด็ก เดินหน้า.
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ระยะเวลา 5 ปี (ระหว่างปี )
สิทธิมนุษยชน กับ ความหลากหลายทางเพศ
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
สังคมศึกษา.
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
YOUR SUBTITLE GOES HERE
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
โดย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
บทเรียนจาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
สิทธิตามกฎหมายของประชาชน สิทธิตาม กฎหมาย บทบัญญัติและผู้เกี่ยวข้อง 1. สิทธิได้รู้ (Right to Know) 1.1 สิทธิได้รู้ตามมาตรา 7 ( เรื่องที่ต้องให้รู้ ) มาตรา.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12 ศ.นพ.วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์ ที่ปรึกษาศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรกฎาคม 2554

2529 กรณีการวิจัยจากเหตุการณ์สมมุติ 2529 กรณีการวิจัยจากเหตุการณ์สมมุติ ผู้ป่วยเป็นหญิงหม้ายอายุ 70 ปี อยู่คนเดียว กินยานอนหลับเพื่อฆ่าตัวตาย แพทย์ถูกตามไปพบ ในมือถือเศษกระดาษมีข้อความว่า ผู้ป่วยกินยานอนหลับ ต้องการตาย ขอให้แพทย์อย่านำส่งโรงพยาบาล และไม่ต้องทำการรักษาใด ๆ แพทย์ทำตามความต้องการของผู้ป่วย รออยู่จนผู้ป่วยตาย ความเห็นนักกฎหมายส่วนมากร้อยละ 71.8 แพทย์มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น

2529 กรณีการวิจัยจากเหตุการณ์สมมุติ 2529 กรณีการวิจัยจากเหตุการณ์สมมุติ B. แพทย์นำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล ผู้ป่วยได้รับการรักษา แต่ไม่ฟื้น อยู่ในเครื่องช่วยหายใจ แพทย์ปิดเครื่องช่วยหายใจ ผู้ป่วยตาย ความเห็นนักกฎหมายส่วนมากร้อยละ 80.2 แพทย์มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น

หลักกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคท้าย “การกระทำ ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงดเว้นการที่จักต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย”

2540 กรณีการวิจัยจากเหตุการณ์สมมุติ ผู้ป่วยอายุ 60 ปี เป็นโรคความดันโลหิต มีอาการหมดสติทันที เพราะหลอดเลือดในสมองแตก เลือกออกในสมองจำนวนมาก แพทย์บอกว่า ถ้าไม่ผ่าเอาเลือดออก ผู้ป่วยจะตาย แต่ถ้าผ่า ผู้ป่วยยังมีชีวิตอยู่ได้ แต่จะอยู่ในสภาพเจ้าหญิงนิทรา ญาติไม่ยอมให้แพทย์ผ่า แพทย์จึงปล่อยให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลาต่อมา

2540 กรณีการวิจัยจากเหตุการณ์สมมุติ (ต่อ) A. ผลของความเห็น ร้อยละ 26.4 แพทย์มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น ร้อยละ 72.4 แพทย์ไม่มีความผิด B. กรณีผ่าแล้ว ผู้ป่วยไม่ฟื้น แพทย์ถอดเครื่องช่วยหายใจ ผู้ป่วยตายในเวลาต่อมา ผลของความเห็นแยกเป็น 2 กลุ่ม - ผู้ป่วยตาย 2 ชม.หลังถอด แพทย์มีความผิด 68.6/ ใม่ผิด 28.5 - ผู้ป่วยตาย 30 วันหลังถอด แพทย์มีความผิด 34.3/ ไม่ผิด 62.4

ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 “บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้ การดำเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง เมื่อผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขได้ปฏิบัติตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนึ่งแล้วมิให้ถือว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและให้พ้นจากความรับผิดทั้งปวง”

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (2550) มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง มาตรา 26 การใช้อำนาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิทธิและเสรีภาพ ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (2550) มาตรา 28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญ หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้ สามารถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ . . .

สิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 1 มนุษย์ทั้งหลายเกิดมามีอิสระและเท่าเทียมกัน ทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิทุกคนได้รับการประสิทธิ์ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันอย่างฉันพี่น้อง

สิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน การดำรงชีวิต = วิถีชีวิต ข้อ 3 บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิต ในเสรีธรรมและในความมั่นคงแห่งร่างกาย การดำรงชีวิต = วิถีชีวิต The right to self-determination (สิทธิในการตัดสินใจด้วยตนเอง)

มาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไม่รับบริการใด และในกรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะให้บริการนั้นมิได้