ปลาหางนกยูง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานการทำแคลเซียมเจลลี่ ชาววัง กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
บัวงาม กรุณารอสักครู่
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
การเพาะพันธุ์ปลาแฟนซีคาร์ฟ
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
กิจกรรมย่อยถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการฯ
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
What is the optimum stocking rate ?
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการของพะยูน.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
************************************************
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
Wean-to-Finish (WTF) System
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เรื่อง หอยเชอรรี่ กลุ่ม ที่ 3
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ให้ งามดั่งใจ 1. เทคนิค ปลูกกล้วยไม้ ที่จะเอ่ยถึงต่อไปนี้อาจเป็นอะไรใกล้ ๆ ตัวเราเอง ครับ ผมเชื่อว่าหลายท่านเลี้ยงกล้วยไม้ไป ปลูกกล้วยไม้
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปลาหางนกยูง

ปลาหางนกยูง เป็นปลาอออกลูกเป็นตัว และมีถิ่นกำเนิดทางทวีปอเมริกาใต้แถบเวเนซูเอลล่า หมู่เกาะคาริเบียนของประเทศบาร์บาโดสและในแถบลุ่มน้ำอเมซอน ในธรรมชาติอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดและน้ำกร่อย ปลาตัวผู้มีขนาด 3 -5 เซนติเมตร ตัวเมียมีขนาด 5 -7 เซนติเมตร ปลาหางนกยูงที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ลักษณะเด่นของปลานกยูงคือ ลักษณะสีและลวดลายบนลำตัวและลวดลายบนครีบหางและรูปแบบของครีบหาง ซึ่งในการเรียกสาย พันธุ์ต่างๆ จะถูกตั้งชื่อตามลักษณะ ดังกล่าว

ปลาหางนกยูงมีมากมายหลายสายพันธุ์รายละเอียดดังรูป 1. ตระกูล Old Fashion 2. ตระกูล Grass 3.ตระกูล Mosaic 4.ตระกูล Metal 5. ตระกูล King Cobra 6. ตระกูล Tuxedo

7. ตระกูล Platium 8. ตระกูล Sword Tail 9. ตระกูล Solid 10. ตระกูล Japan Blue

การเพาะพันธุ์ปลาหางนกยูง ในการเพาะพันธุ์ปลาหางนกยูง นอกเหนือจากวิธีการเพาะพันธุ์แล้ว วิธีการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์และการอนุบาลลูกปลานับว่าเป็นปัจจัยที่ล้วนแต่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน ซึ่งได้กล่าวถึงปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวต่อไปนี้ คือ การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลาหางนกยูง เนื่องจากปลาหางนกยูงจะเจริญถึงวัยเจริญพันธุ์ เมื่อปลามีอายุเพียง 3 เดือนเท่านั้น เมื่อลูกปลาพอที่จะแยกเพศได้(อายุประมาณ1- 1 1/2 เดือน ) ควรเลี้ยงแยกเพศไว้เพื่อป้องกันไม่ให้ปลาผสมพันธุ์กันเอง

การเพาะเลี้ยงปลาหางนกยูง ขั้นตอนที่ 1 เตรียมบ่อซีเมนต์ขนาด 1 - 4 ตรม การเพาะเลี้ยงปลาหางนกยูง ขั้นตอนที่ 1   เตรียมบ่อซีเมนต์ขนาด 1 - 4 ตรม. ระดับน้ำลึก 30 –50 ซม. ใส่พุ่มเชือกฟางตะกร้าหรือฝาชี เพื่อให้ลูกปลาใช้เป็นที่ปลาหลบซ่อน ขั้นตอนที่ 2    คัดพ่อแม่ปลาสายพันธุ์เดียวกันที่ลักษณะดีสีสวยอายุประมาณ 4 –6 เดือน โดยคัดปลาเพศผู้ ลำตัวโต แข็งแรง สีเข้มสดใส สวยงาม ส่วนปลาเพศเมียลำตัวโต แข็งแรง ครีบหางเข้มสดใส ปล่อยรวมกันในอัตรา 120 -180 ตัว/ลบ.ม. ในสัดส่วนเพศผู้ : เพศเมีย เท่ากับ 1:3 หรือ 1:4 ระหว่างการเพาะพันธุ์ให้ ขั้นตอนที่ 3    หลังจากแม่ปลาได้รับการผสมพันธุ์ประมาณ 26 –28 วัน จะมีลูกปลาวัยอ่อนเกิดขึ้นและหลบซ่อนอยู่ตามวัสดุที่มาใส่ไว้ในบ่อให้รวบรวมลูกปลาออกทุกวันสะสมไว้ในบ่ออนุบาล ประมาณ 4-5 วัน/ บ่อ เพื่อให้ลูกปลามีขนาดใกล้เคียงกัน ให้ไรแดงเป็นอาหารในตอนเช้าและเย็นทุกวันเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์

ขั้นตอนที่ 4    คัดขนาดและแยกเพศปลา นำไปแยกเลี้ยงในบ่ออัตรา 200-300 ตัว/ลบ.ม.ให้กินไรแดงเป็นอาหารในตอนเช้าส่วนตอนกลางวันและตอนเย็นให้กินอาหารสำเร็จรูป ขั้นตอนที่ 5    ปลาหางนกยูงอายุประมาณ 4 เดือน จะถูกคัดขนาดและคัดเลือกปลาที่แข็งแรงสมบูรณ์ เพื่อนำไปเลี้ยงไว้ในบ่อพักปลาเพื่อเตรียมส่งจำหน่ายต่อไป

วิชาเอกเทคโนโลยีการเกษตร ปลานกยูง จัดทำโดย นายนฤเทพ อินใหม 512041019 วิชาเอกเทคโนโลยีการเกษตร