ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ระบบสุริยะ (โลกและดวงอาทิตย์)
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
ระบบสุริยะ (Solar System).
ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก
(Global Positioning System)
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โลก (Earth).
ยูเรนัส (Uranus).
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ดวงจันทร์ (Moon).
ครูศรีไพร แตงอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน เทคโนโลยีอวกาศ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
วิทยาศาสตร์ Next.
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ระบบสุริยะ จักรวาล.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว 42102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ทำแบบทดสอบเรื่องเอกภพและเทคโนโลยีอวกาศ ได้อย่างน้อยร้อยละ 80

หลักฐานที่สำคัญที่สุดที่ใช้สนับสนุน ทฤษฎีบิกแบงคืออะไร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

การขยายตัวของเอกภพตามกฎ ของฮับเบิล เกิดจากการเคลื่อนตัว ออกจากกันของสิ่งใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

สิ่งที่เรามองเห็นเป็นทางสีขาว พาดผ่านท้องฟ้าในคืนเดือนมืด หรือที่นักดาราศาสตร์เรียกว่า ทางช้างเผือก คืออะไร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

การเคลื่อนที่ปรากฏประจำวันของ ดาวฤกษ์จะเคลื่อนที่ในลักษณะใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ถ้าต้องการเห็นดาวเหนือได้ ทุกฤดูกาล นักเรียนจะต้องสังเกต อยู่ ณ ตำแหน่งใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

มุมเงยของวัตถุที่อยู่บนเส้นขอบฟ้ามีค่าเท่าไร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ในการบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จะต้องรู้ค่าสิ่งใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

พลังงานความร้อนของดวงอาทิตย์ เป็นพลังงานชนิดใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ปรากฏการณ์ใดเกิดจากลมสุริยะ ก. สุริยุปราคา ข. พายุแม่เหล็ก ก. สุริยุปราคา ข. พายุแม่เหล็ก ค. แสงเหนือ – แสงใต้ ง. ข้อ ก และ ค ถูก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยแก๊สอะไรมากที่สุด ฮีเลียม คาร์บอน ค. ยูเรเนียม ง. ไฮโดรเจน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ความสำเร็จของโครงการยาน ขนส่งอวกาศของประเทศ สหรัฐอเมริกามีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงวิถีมนุษย์ในด้านใด มากที่สุด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ดาวเทียมดวงแรกที่ถูกส่งขึ้นไป โคจรในวงโคจรของโลกได้สำเร็จคือ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ดาวเทียมค้างฟ้าถูกสร้างขึ้นเพื่อ ใช้ประโยชน์ด้านใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

สถานีสื่อสารดาวเทียมภาคพื้นดิน ของประเทศไทยอยู่ที่ใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

จุดประสงค์ของโครงการสกายแลบ คือข้อใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ดาวเทียมดวงแรกที่ถูกส่งขึ้นไป โคจรรอบโลกได้สำเร็จ ได้ส่งข้อมูล เกี่ยวกับสิ่งใดมายังโลก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

จุดประสงค์หลักของการ ส่งดาวเทียมไทยคม 3 ขึ้นไปโคจร รอบโลกคืออะไร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

เมื่อครั้งที่เกิดพายุไต้ฝุ่นเกย์ ประเทศไทยได้รับภาพถ่ายจาก ดาวเทียมใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

โครงการอะพอลโล – ซัลยุต เป็นโครงการอวกาศร่วมระหว่าง ประเทศใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

อนุภาคพื้นฐานขณะเกิดบิงแบงคือ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ดาวฤกษ์รุ่นแรกมีธาตุใดเป็น สารเบื้องต้น ครู ศรีไพร แตงอ่อน

เอ็ดวิน พี ฮับเบิล ได้ทำการศึกษา เกี่ยวกับเอกภพเรื่องใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

หลุมดำ หมายถึง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

การระเบิดอย่างรุนแรงของดาวฤกษ์ มวลมาก ก่อนจะดับสลายเรียกว่า อะไร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ถ้าอุณหภูมิของแก๊สที่แกนกลาง เนบิวลาสูงเพิ่มขึ้นเป็น 15 ล้านเคลวิน จะทำให้เกิดสิ่งใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ดาวแคระขาวเกิดจาก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ต้นกำเนิดของเนบิวลาคือ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ดาวเคราะห์น้อยโคจรระหว่าง ดาวเคราะห์ใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ข้อมูลที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์ ฮับเบิล ช่วยให้มนุษย์เกิดความ เข้าใจเรื่องใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ถ้าประเทศไทยต้องการสำรวจ สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ต้องใช้บริการจากดาวเทียมระบบใด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

การส่งหอวิจัยลอยฟ้าไปโคจร รอบโลกเพื่ออะไร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ทบทวนด้วยคำถาม ครู ศรีไพร แตงอ่อน

1. แรงโน้มถ่วงของโลกหมายถึง ..................................................... 2. เพราะเหตุใด ในการส่งจรวดไปใน อวกาศ เมื่อจรวดแต่ละท่อนเผา ไหม้เชื้อเพลิงหมดแล้วจึงถูกสลัด ทิ้ง................................................ แรงดึงดูดที่โลกกระทำต่อมวลของวัตถุ ลดมวลให้น้อยลง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

3. ยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์ ลำใด ที่ไม่มีนักบินควบคุม ก. ยานลูนา ก. ยานลูนา ข. ยานเรนเยอร์ ค. ยานมาริเนอร์ ง. ยานคอสมอส ครู ศรีไพร แตงอ่อน

4. ประเทศที่ประสบความสำเร็จใน การส่งยานอวกาศที่มีนักบิน ควบคุมคือ..................................... 5. จุดมุ่งหมายของการส่งยานอวกาศ ไปดาวเคราะห์ดวงอื่นคือ ........................................................ สหรัฐอเมริกา ต้องการหาแหล่งที่อยู่ให้ประชากร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

6. ยานขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3 ส่วนที่สำคัญคือ .................................................... ..................................................... - ยานขนส่งอวกาศ - ถังเชื้อเพลิงภายนอก - จรวดเชื้อเพลิงแข็ง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

7. จากข้อ 6 ส่วนประกอบที่สามารถ นำกลับมาใช้ใหม่ได้คือ ................................................... และส่วนที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ ใหม่ได้อีกคือส่วนใด ........................................................ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

8. ภาวะไร้น้ำหนักมีผลต่อมนุษย์เรื่อง ใด................................................... ...................................................... 9. การป้องกันปัญหาจากภาวะไร้ น้ำหนักของนักบินอวกาศคือ ........................................................ ความดันในเส้นโลหิตมาก เส้นเลือดแตกง่าย ออกกำลังกายในยานอวกาศ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

10. เหตุใดเชื้อเพลิงที่ใช้กับจรวดถึง ต้องอยู่ในสถานะของเหลว .................................................... ..................................................... - ให้บรรจุได้มากพอกับการเดินทาง - สามารถควบคุมการเผาไหม้ได้ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

11. อาวุธที่ยิงออกไปเพื่อการทำลาย ล้างเรียกว่า................................... 12. อุปกรณ์ที่ส่งขึ้นไปโคจรรอบโลก เพื่อประโยชน์ด้านต่าง ๆ ..................................................... ขีปนาวุธ ดาวเทียม ครู ศรีไพร แตงอ่อน

13. ที่เรียกว่าห้องปฏิบัติการใน อวกาศคือ................................... 14. การจุดระเบิดเพื่อปรับทิศการ เคลื่อนที่ของกระสวยอวกาศ อาศัยหลักวิทยาศาสตร์ใด ..................................................... สถานีอวกาศ แรงกิริยา เท่ากับแรงปฏิกิริยา ครู ศรีไพร แตงอ่อน

15. เราเรียกความเร็วตั้งแต่ 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที ที่ทำให้วัตถุ เดินทางสู่ห้วงอวกาศได้ว่า .................................................... ความเร็วหลุดพ้น ครู ศรีไพร แตงอ่อน