1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ 12 3. ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ 19 4. ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
Chapter5:Sound (เสียง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Microsoft PowerPoint.
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
การสื่อสารข้อมูล.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
( wavelength division mux)
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและชนิดของคลื่น
On Win 7 + Win XP + 10 Media player ปรับปรุง 10 มิถุนายน 2557
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
v v v อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
เรื่อง อันตรายของเสียง
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
นางสาวพัชรี เทพกัน รหัส
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หลักการบันทึกเสียง.
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ นางสาว อุทัยวรรณ อำพันขาว PE 32 ID
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1

เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)

เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตาม ธรรมชาติ

เสียง เสียง อยู่ในรูปแบบของพลังงาน เหมือนกับพลังงานความร้อนและพลังงาน แสง ที่สามารถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีก ที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น ของ วัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่น ที่ประกอบด้วยแอมพลิจูด และความถี่ของ คลื่นเสียง ตัวอย่างเช่น เมื่อสั่นกระดิ่งจะ เกิดเป็นพลังงานเดินทางผ่านตัวกลางที่เป็น อากาศเพื่อถ่ายทอดพลังงานดังกล่าว และ สะท้อนมายังหูของมนุษย์ เป็นต้น โดยปกติ มนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮิรซต์

ระดับเสียงที่มนุษย์สามารถได้ยิน ความดังของ เสียง ( เดซิเบล ) ชนิดของเสียง 0 เสียงที่แผ่วเบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน 30 เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด 60 เสียงพูดคุยตามปกติ เสียงจักรเย็บผ้า หรือเสียง พิมพ์ดีด 85 เสียงตะโกนข้ามเขา หรือพื้นที่โล่งกว้าง เพื่อให้ ได้ยินเสียงสะท้อนของตนเองกลับมา 90 เสียงเครื่องตัดหญ้า เสียงเครื่องจักรในโรงงาน หรือเสียงรถบรรทุก 100 เลื่อยไฟฟ้าหรือเครื่องเจาะที่ใช้ลม 115 เสียงระเบิดหิน เสียงในร็อคคอนเสิร์ต หรือเสียง แตรรถยนต์ 140 เสียงยิงปืน เสียงเครื่องบินเจ็ต ซึ่งเป็นเสียงที่ทำ ให้ปวดหู และอาจทำให้หูเสื่อมได้

เสียงจากธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้บน คอมพิวเตอร์ ด้วยกระบวนการบันทึก (Record) จัดการ (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้ จำเป็นต้องแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมโดยใช้เครื่องมือสำหรับแปลงคลื่น เสียงกับสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) ลำโพง (Speaker) เครื่องขยาย เสียง (Amplifier) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer) คลื่นเสียงประกอบด้วยคุณสม บัติทางฟิสิกส์ ได้แก่ แอมพลิจูด (Amplitude) ความถี่ (Frequency) รูปแบบคลื่น (Waveform) และ ความเร็ว (Speed) ที่ใช้สำหรับถ่ายทอดเสียง

อุปกรณ์สำคัญที่ควบคุมสำหรับการทำงานและ เล่นไฟล์เสียง ได้แก่ การ์ดเสียง (Sound Card) อุปกรณ์ถ่ายทอด สัญญาณเสียง (Audio Transmission) และ อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Mixer) การจัดเก็บไฟล์เสียงในมัลติมีเดีย สามารถ จัดเก็บได้หลากหลายรูปแบบได้แก่ WAV, MID(MIDI), AU(Audio),MP3(MPEG Layer III) เป็นต้น ซอฟต์แวร์ใช้งานเกี่ยวกับภาพและเสียงมีอยู่ มากมายได้แก่ Window Media Player,Winamp, XmultidiaSystem (XMMS),Real player, Musicmatch, Jukebox, JetAudio, Tunes เป็นต้น

การนำเสียงมาประยุกต์ใช้งานกับมัลติมีเดีย มี วัตถุประสงค์หลัก คือ ทำให้สามารถเข้าใจถึง เนื้อหาที่ต้องการนำเสนอได้ดีขึ้น และลดการ สื่อสารในรูปแบบที่ซ้ำซ้อน (Redundancy) รวมทั้งเพิ่มโอกาสการสื่อสารข้อมูลผ่านช่องทาง ที่หลากหลายยิ่งขึ้น เสียงที่นำมาใช้กับงาน มัลติมีเดียมีหลายประเภท ได้แก่ เสียงพูด (Speech) เสียงเพลง (Music) และเสียงเอฟ เฟ็กต์ (Sound Efffet)