กฏหมายกับสังคมสมัยใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ระบบเศรษฐกิจ.
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
เศรษฐกิจพอเพียง.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
The Nature of technology
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ระบบความเชื่อ.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Individual and Organizational)
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
จารีตประเพณีและพหุนิยมทางกฎหมาย
เห็นภาพนี้หมุนทวนเข็ม หรือ ตามเข็มนาฬิกา
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
Law and Modern World ภาคการศึกษา 1/2557
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ความหมายและคุณค่าของ การทำโครงงาน คอมพิวเตอร์. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มี ผลกระทบต่อความ เจริญก้าวหน้าของทุกๆ สังคมในโลกปัจจุปัน เทคโนโลยีด้านนี้มีการเป.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฏหมายกับสังคมสมัยใหม่ 176100 ผู้สอน – นัทมน คงเจริญ เอกสารประกอบการเรียน (หลังจากการบรรยายในแต่ละสัปดาห์) โพสไว้ให้ที่: http://www.law.cmu.ac.th ในแถบซ้ายมือ  e-document for student วันนี้จะทำความเข้าใจ: outline ของเนื้อหาวิชาสำหรับหลังสอบกลางภาค เชื่อมโยง จากก่อนสอบกลางภาค 1 Introduction

หลังสอบกลางภาค เราจะเรียนอะไรกันบ้าง Subject of Law เนื้อหาของวิชา เรียนอะไรมาแล้วบ้าง Modern State & People Justice & Punishment Gender หลังสอบกลางภาค เราจะเรียนอะไรกันบ้าง Subject of Law Belief & Tradition & Culture Technology & Globalization 1 Introduction

Outline เวลา หัวข้อ สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนมีนาคม Subject of Law ผู้ทรงสิทธิ์ บุคคลในสายตาของกฎหมาย สัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมีนาคม Belief & Religion ความเชื่อ และศาส่นา สัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมีนาคม ความเชื่อ และศาส่นา (ต่อ) สัปดาห์ที่ 1 ของเดือนเมษายน Tradition จารีตประเพณี สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนเมษายน (หยุดสัปดาห์สงกรานต์) Culture วัฒนธรรม สัปดาห์ที่ 4 ของเดือนเมษายน Technology เทคโนโลยี สัปดาห์ที่ 5 ของเดือนเมษายน Globalization โลกาภิวัตน์ 1 Introduction

เนื้อหาของวิชา Law and Modern World มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจถึงแนวความคิดสำคัญในยุคสมัยใหม่อันเป็นรากฐานของระบบกฎหมายที่ดำรงอยู่ในโลกยุคปัจจุบัน การทำความเข้าในนี้ จะพิจารณาจากแนวคิดพื้นฐาน, สถาบัน และกลไกที่สำคัญ ที่สร้างระบบกฎหมายในสังคม สังคมสมัยใหม่ เริ่มจากการสิ้นสุดของยุคกลางในยุโรป หรือประมาณหลังศตวรรษที่ 15 ที่สร้างแนวคิดต่างๆในสังคมใหม่ สืบเนื่องมาถึงในปัจจุบัน 1 Introduction

มีอยู่สองเรื่องที่เราจะทำความเข้าใจก่อน 1. อะไรคือกฎหมาย? 2. อะไรคือสังคมสมัยใหม่ “Modern” ? ในเรื่องของกฎหมาย โดยทั่วไป เราเข้าใจกันว่ากฎหมายคือคำสั่งของรัฐ  “กฎหมายคือคำสั่ง คำบัญชาของรัฐาธิปัตย์ ที่ผู้ฝ่าฝืนต้องถูกลงโทษ” แต่ในที่นี้จะเริ่มจากการเข้าใจกฎหมายในความหมายอย่างกว้าง เช่นกฎหมายในระบบกฎหมายแบบจารีตประเพณี กฎหมายในแต่ละช่วงเวลามีความแตกต่างกัน กฎหมายก็เกิดขึ้นจากผู้คนในสังคมที่คิดและออกแบบกฎหมายนั้นขึ้นมา ดังนั้นจึงสำคัญว่าพวกเราคิดอย่างไร และเข้าใจกฎหมายในโลกสมัยใหม่นี้อย่างไร 1 Introduction

ความแตกต่างนี้เป็นผลมาจากฐานความคิดที่เปลี่ยนแปลงไประหว่างอดีตกับสมัยใหม่ ความเปลี่ยนแปลงนี้อาจเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป หรืออาจเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว ในกรณีที่เกิดการปะทะกันของความคิดที่ต่างกันอย่างมาก วิชานี้ต้องการอธิบายถึงความคิดที่มีผลกระทบต่อระบบกฎหมาย และกลายเป็นฐานความคิดที่สำคัญของโลกในห้วงเวลาปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ยังมีกฎหมายที่มีลักษณะซึ่งแตกต่างกันดำรงอยู่ในช่วงเวลาปัจจุบัน เช่น การลงโทษแบบโหดเหี้ยมยังมีอยู่ 1 Introduction

What is Modern World? 1 Introduction

การเกิดในสังคมยุคก่อน/สมัยใหม่ 1 Introduction

ผลของยุคสมัยใหม่ที่สำคัญ 4 แนวทาง แนวคิดมนุษยนิยม Humanism โลกภายหลังศตวรรษที่ 15 – 16 ของยุโรป มีการเปลี่ยนแปลงทางความคิดที่สำคัญเกิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลกระทบต่อระบบความรู้ การเมือง ระบบกฎหมาย อย่างสำคัญ กลายเป็นสภาวะของโลกสมัยใหม่ (Modern World) ผลของยุคสมัยใหม่ที่สำคัญ 4 แนวทาง แนวคิดมนุษยนิยม Humanism แนวคิดในการหาความรู้ วิทยาการ Sciences แนวคิดเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย Sovereignty แนวคิดเกี่ยวกับเสรีภาพ Liberalism 1 Introduction

I. Humanism แนวความคิดมนุษย์นิยม (Humanism) ก่อนหน้าศตวรรษที่ 15 คำอธิบายเรื่อง Original Sin (บาปกำเนิด)ระบบการเมืองการปกครองเป็นไปเพื่อนำมนุษย์กลับสู่ดินแดนของ God 1 Introduction

I. Humanism (ต่อ) มนุษย์มีคุณค่าและมีความสามารถในการพัฒนาตนเองสู่สิ่งที่ดีกว่า ก้าวหน้ากว่า ในทางการเมืองมีแนวคิด Social Contract 1 Introduction

มนุษย์มีเหตุผลและความสำนึกผิดชอบ ชั่วดี การกระทำของคน 1 Introduction

II. Sciences การแผ่อำนาจของความคิดแบบวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ – ประสบการณ์นิยม เบียดขับความรู้ของศาสนาคริสต์ เช่น กำเนิดของจักรวาล โลก มนุษย์ ระบบความรู้ที่ดำรงอยู่ในโลกปัจจุบัน 1 Introduction

การอธิบายถึงปรากฎการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น 1 Introduction

แทนคำอธิบายที่เคยเชื่อตามกันมา 1 Introduction

III. Sovereignty อำนาจอธิปไตย (Sovereignty) อำนาจสูงสุดเหนือประชาชนภายในรัฐ ไม่ถูกจำกัดด้วยอำนาจอื่นใด กฎหมายของรัฐมีอำนาจสูงสุด รัฐที่มีอำนาจอธิปไตยเป็นของตนเอง แสดงออกโดยการออกกฎหมายเป็นการแยกออกจากอำนาจในการควบคุมของศาสนจักร 1 Introduction

การปกครองตามแนวคิดตะวันตก 1 Introduction

IV. Liberalism แนวความคิดเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (หลัง ศ. 17) ระบบตลาด เป็นกลไกในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด รัฐไม่ควรเข้ามายุ่งเกี่ยว (laissez-faire) มนุษย์เป็นสัตว์เศรษฐกิจ Homo Economicus คำนวณถึงผลได้เสียของการกระทำต่างๆ ก่อนตัดสินใจ และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล 1 Introduction

พวกเรามีความคิดเห็นอย่างไรต่อเรื่องราวต่างๆที่เกิดขึ้นรอบๆตัว ในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนกำหนดกฎเกณฑ์ของสังคม เราควรจะคิดถึงกฎต่างๆอย่างไรบ้าง? 1 Introduction

The End ☃ 1 Introduction