ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การประชุมชี้แจง แนวทางการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของคุณภาพการบริการ ของสำนักงานเขต
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
กรมทางหลวงชนบท สำนักบริหารกลาง.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก. ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนัก : Line Staff Line & Staff 5 ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.

คำอธิบาย โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้น/พัฒนา/ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นหลัก ด้วยการนำเทคนิคทางการบริหารสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม เช่น ระบบ Lean Reengineering Process Redesign ฯลฯ การนำ IT เข้าช่วย หรือ Best Practice

ประเภทของโครงการให้บริการที่ดีที่สุด 1. โครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 2. โครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 3. โครงการที่เคยดำเนินการก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และนำมาพัฒนาเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 โดยไม่เคยนำเสนอเป็นโครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายเหตุ ไม่ให้นำเสนอโครงการ Facebook ยกเว้นมีประเด็นการพัฒนาที่โดยเด่น/แตกต่างไปจากโครงการเดิม

ผลรวมของผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด จำนวนตัวชี้วัดทั้งหมด วิธีการประเมินผล ผลรวมของผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด จำนวนตัวชี้วัดทั้งหมด = ผลคะแนนการดำเนิน โครงการให้บริการที่ดีที่สุด ผลงานที่สามารถดำเนินการได้ x 100 เป้าหมายของตัวชี้วัด = ผลการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ผลคะแนนการดำเนินการตามตัวชี้วัด : วัดจากผลงานที่สามารถดำเนินการ ทั้งนี้หากสามารถดำเนินการได้  เป้าหมาย คิดเป็นร้อยละ 100 ดำเนินการได้ < เป้าหมาย คิดร้อยละตามสัดส่วนของผลงานที่สามารถดำเนินการได้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ผลคะแนนการดำเนิน โครงการให้บริการ ที่ดีที่สุด (ร้อยละ) 60 70 80 90 100

การดำเนินการ การดำเนินการ ระยะเวลา เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก คะแนนของตัวชี้วัด) 1. จัดตั้งทีมงานดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด 2. หน่วยงานจัดทำโครงการให้บริการที่ดีที่สุด และตารางสรุปสาระสำคัญ ส่งให้ สกก. อย่างเป็นทางการพร้อมไฟล์ข้อมูลทาง e-mail : bestservicebma@gmail.com (ภายในเดือน พ.ย. 2557) สกก. แจ้งอีก ครั้งหนึ่ง 0.5 คะแนน และตัดคะแนนเพิ่มอีกวันละ 0.01 คะแนน

เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก การดำเนินการ ระยะเวลา เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก คะแนนของตัวชี้วัด) 2. จัดทำโครงการให้บริการที่ดีที่สุด โดยระบุตัวชี้วัด เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ และลักษณะการให้บริการที่ชัดเจน - 3. นำเสนอโครงการต่อคณะกรรมการฯ พิจารณาตามระยะเวลาที่กำหนด และหากคณะกรรมการฯ มีมติให้ปรับแก้โครงการ หน่วยงานต้องดำเนินการตามมติคณะกรรมการฯ 4. คณะกรรมการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุดพิจารณาโครงการ (โครงการของแต่ละหน่วยงานจะพิจารณาไม่เกิน 3 ครั้ง หากไม่ผ่านภายใน ๓ ครั้ง ถือว่าจะไม่ได้รับการประเมินผลในตัวชี้วัดนี้) 7 7

การดำเนินการ ระยะเวลา - 0.02 คะแนน เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก คะแนนของตัวชี้วัด) 5. สำนักงาน ก.ก. แจ้งผลการพิจารณาทาง website: http://circular.bangkok.go.th ภายใน 7 วันทำการนับจากวันที่คณะกรรมการฯ มีมติ - 6. หน่วยงานแก้ไขโครงการ 6.1 หน่วยงานแก้ไขโครงการตามมติคณะกรรมการฯ ส่งให้ สกก. ทาง e-mail : bestservicebma@gmail.com ภายใน 10 วันทำการนับถัดจากวันที่ สกก.เวียนแจ้ง 0.02 คะแนน

ภายใน 7 วันทำการนับตั้งแต่วันได้รับแจ้งผลการพิจารณา - การดำเนินการ ระยะเวลา เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก คะแนนของตัวชี้วัด) 6.2 กรณีไม่ได้รับอนุมัติ และหน่วยงานไม่เห็นด้วย ขอชี้แจงต่อคณะกรรมการได้ โดยแจ้งความจำนงถึงประธานกรรมการ เป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านหัวหน้าสำนักงาน ก.ก. (กรรมการพิจารณาทบทวนแล้วถือว่าสิ้นสุด) ภายใน 7 วันทำการนับตั้งแต่วันได้รับแจ้งผลการพิจารณา -

7. หน่วยงานดำเนินงานตามโครงการที่ผ่านการพิจารณาแล้ว การดำเนินการ ระยะเวลา เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก คะแนนของตัวชี้วัด) 7. หน่วยงานดำเนินงานตามโครงการที่ผ่านการพิจารณาแล้ว เริ่มตั้งแต่กรรมการมีมติอนุมัติโครงการ - 8. รายงานผลความสำเร็จของโครงการตามเป้าหมาย และองค์ประกอบที่กำหนด ส่งให้สำนักงาน ก.ก. สกก. จะแจ้งกำหนดส่งให้ทราบต่อไป

เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก การดำเนินการ ระยะเวลา เกณฑ์การหักคะแนน (จากน้ำหนัก คะแนนของตัวชี้วัด) 9. สำนักงาน ก.ก. พิจารณาผลสำเร็จตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนดไว้ ภายในตุลาคม 2558 -