งานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
สรุปผลหลังการฝึกทักษะประกอบรายวิชา สถานีอนามัยบ้านหนองปลาน้อย ตำบลเหล่าปอแดง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ปีที่ 3.
อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
นายสิทธิพล เมืองสง พร้อมเจ้าหน้าที่ฯ ร่วมกับสำนักงานประมงจังหวัด ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดพัทลุง หน่วยงานราชการ ในพื้นที่ ประชาชนและนักเรียน.
ผลการปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ แผนการดำเนินงานที่สำคัญ ประจำปี 2556.
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
(Artificial insemination) สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
กิจกรรมประมงโรงเรียน
โรคอุจจาระร่วง.
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ
ครั้งที่ ๒.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
แบบประวัติและผลงานดีเด่น “ เกษตรกรดีเด่น ” ปี 2555 สาขา อาชีพทำนา นายวิสา ยางเอน 42 หมู่ 1 ตำบลนาวังหิน อำเภอพนัสนิคม.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน นายอนรรฆ พรหมคุณ รหัส5212402161 คณะเกษตรศาสตร์ (สัตวศาสตร์)

ศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพอุบลราชธานี

ประวัติการผสมเทียมของโลก -  พ.ศ.1865 ผสมเทียมม้า (อาหรับ) -  พ.ศ.2323 ผสมเทียมสุนัข(อิตาลี) -  พ.ศ. 2473 ผสมเทียมในโคและแกะ(รัสเซีย) -  พ.ศ. 2492 ซี โพล และคณะ ชาวอังกฤษ ได้ทำการแช่แข็งน้ำเชื้อไดสำเร็จโดยเก็บน้ำเชื้อในน้ำแข็งแห้งอุณหภูมิ -79 องศาเซลเซียส -  พ.ศ. 2495 เติมกลีเซอรอล ลงในสารเจือจางน้ำเชื้อจะช่วยให้อสุจิรอด ชีวิตจากการเก็บที่อุณหภูมิ -196 องศาเซลเซียสซึ่งเป็นจุดเริ่มใน การผลิตน้ำเชื้อแช่แข็ง

ประวัติการผสมเทียมในประเทศไทย   - พ.ศ.2496 ศาสตราจารย์นีลล์ ลาเกอร์ลอฟ ชาวสวีเดน ผู้เชี่ยวชาญจากเอฟ.เอ.โอ. ได้เดินทางมาสำรวจการเลี้ยงปศุสัตว์ในประเทศไทย โดยทุนของ เอฟ.เอ.โอ. จากนั้นได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายโครงการผลิตโคนมลูกผสมด้วยวิธีการผสมเทียม           - พ.ศ. 2497 กรมปศุสัตว์ได้ส่งข้าราชการ ไปศึกษาอบรมนานาชาติ ณ ราชวิทยาลัยสัตวแพทย์ กรุงสต๊อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ซึ่งองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติร่วมกับรัฐบาลสวีเดน ได้เปิดหลักสูตรฝึกอบรมวิชาการสืบพันธุ์ รวมทั้งการผสมเทียมขึ้นเป็นรุ่นแรก           - พ.ศ. 2499 กรมปศุสัตว์ได้เปิดสถานีผสมเทียมแห่งแรก ที่จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2499 ได้ผสมเทียมให้แม่โคตัวแรก           - พ.ศ. 2501 สถานีผสมเทียมแห่งที่สองได้ตั้งขึ้นที่หน่วยผสมเทียมกลางในกรมปศุสัตว์ ได้พัฒนาและปรับปรุงพื้นฐานการเลี้ยงโคนมและการผสมเทียมในกรุงเทพมหานคร จนประสบความสำเร็จอย่างดียิ่ง

ภาระงานต่างๆที่ได้รับที่ได้รับมอบมาย 1.ดูแลสัตว์ทดลองและตรวจการเป็นสัด 2.ให้อาหารทุกเช้า-เย็นเป็นหญ้าสดและหญ้าแห้ง และอาหารข้นช่วยเสริมด้านต่างๆของร่างกายสัตว์ 3.ออกผสมเทียมตามหมู่บ้านที่ได้รับมอบหมายจากศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพอุบลราชธานี 4.ดูแลและรักษาสัตว์ซึ่งมีอาการเจ็บเจ็บป่วยๆต่างๆในหมู่บ้าน 5.บันทึกประวัติการผสมเทียมของโคและกระบือลงในระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อป้องกันการผสมแบบเลือดชิด

เรียนรู้ระบบสืบพันธุ์ของโค เพื่อให้ทราบถึงระบบสืบพันธุ์ภายในเพื่อให้รู้ถึงตำแหน่งที่เราจะจะสอดปืนเข้าไปในระบบสืบพันธุ์ว่าควรฉีดที่ไหนตำแหน่งใดและเรียนรู้ระบบสืบพันธุ์ต่างของโคแม่พันธุ์ อวัยวะสืบพันธุ์ของแม่โคที่สำคัญประกอบด้วย 1.รังไข่ (ovary) 2.ท่อนำไข่ (oviduct) 3.ปีกมดลูก(uterine horn 4.ตัวมดลูก (uterus) 5.คอมดลูก (cervix) 6.ช่องคลอด (vagina)7. ปากช่องคลอด (vulva) เพื่อเรียนรู้ให้ทราบถึงระบบสืบพันธุ์เพื่อให้ง่ายต่อการลงพื้นที่จริงโดยการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานไปก่อน

เรียนรู้อุปกรณ์การผสมเทียม 1. ถังสนามใส่น้ำเชื้อ : เพื่อเก็บน้ำเชื้อแช่แข็งไว้ที่อุณภูมิ196  องศาเซลเซียส 2. ปืนผสมเทียม :เพื่อใช้สอดในการฉีดน้ำเชื้อแช่แข็งผ่านทางอวัยวะเพศของโคแม่พันธุ์ที่มีอาการเป็นสัด 3.  ถุงมือล้วงตรวจ/สารหล่อลื่น:เพื่อใช้ในการหาระบบสืบพันธุ์ของโคแม่พันธุ์ที่มีการอาการเป็นสัด 4. ผ้ากันเปื้อน รองเท้าบู้ท:เพื่อป้องกันจาการเปื้อนของมูลสัตว์หรือสิ่งปนเปื้อนต่างๆ 5. กระดาษชำระ :เพื่อใช้ทำความสะอาดต่างๆจากการปนเปื้อนต่างทั้งก่อนและหลังการผสม

เรียนรู้อุปกรณ์การผสมเทียม(ต่อ) 6. พลาสติกชีท กรรไกร: เพื่อใช้ในการบังคับหลอดน้ำเชื้อและป้องกันการติดเชื้อต่างๆจากภายนอกเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ 7.  ถุงอนามัย(sanitary sheath,double sheath):เพื่อสวมใส่นอกปืนเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากภายนอกเพราะปืนอาจโดนสิ่งต่างๆก่อนเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ของโคแม่พนธุ์

การออกพื้นที่ผสมเทียมตามหมูบ้านที่หน่อยผสมเทียมรับผิดชอบ

การลงบันทึกใบผสมเทียม9เพื่อป้องกันการผสมแบบเลือดชิด

แบบบันทึกข้อมูลประจำตัวสัตว์เพื่อเก็บข้อมูลการผสมในแต่ล่ะครั้ง

เรียนรู้การฝังฮอร์โมนต่างๆที่ใช้ในสัตว์ 1. ใช้เพื่อให้เกิดการเป็นสัดพร้อมๆกัน 2.การสอดใส่ฮอร์โมน ณ ตำแหน่งใดเพื่อจะไม่ให้ฮอร์โมนหลุดออกมา 3.อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการฝังฮอร์โมน

ออกพื้นที่ตามหมู่บ้าน ออกพื้นที่ตามหมู่บ้านเพื่อไปฉีดยาและรักษาสัตว์โดยการฉีดยาพิษสุนัขบ้าและทำหมันสุนัขและแมวและแจกยาให้กับชาวบ้านโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ที่บ้านกระโสก อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จัดโดย กรมปศุสัตว์อำเภอเมือง เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อของโรคพิษสุนัขบ้า ทำหมัน และแจกยาให้กับอาสาสมัครในแต่ล่ะชุมเพื่อเป็นตัวแทนในการป้องกันโรคและการแพร่กระจายของโรคต่างๆ

การทำหมันให้กับสนัขเพศเมีย

การทำหมันให้กับสนัขเพศเมีย

การทำหมันให้กับสนัขเพศผู้

การทำหมันให้กับสนัขเพศผู้

ปัญหาที่พบในการฝึกงานครั้งนี้ 1.ขาดความสามัคคีในหมู่คณะทำให้งานสำเร็จไปได้ช้า 2.สภาพดิน ฟ้า อากาศ ไม่เอื้ออำนวยมากนัก เพราะการออกพื้นที่ผสมเทียมต้องให้แม่โคอยู่ในที่ร่ม อากาศเย็นสบาย มีน้ำให้กิน มีซองบังคับที่เหมาะสม 3.ขาดความชำนาญและประสบการณ์ด้านต่างๆในการผสมเทียมทำให้การผสมทำได้ช้าลง