John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
วงจรการประยุกต์ความรู้
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
นายภมร ดรุณ นักศึกษาปริญญาเอก สารสนเทศศาสตร์ มสธ. รุ่นที่ 2
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เทคนิคการทำงานกับชาวบ้าน : ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรแก่การแสวงหา
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
บทบาทของโรงเรียน ในการนำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ชุมชน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
Preparation for Democratic Citizen
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
การวัดผล (Measurement)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ทฤษฎีการสร้างความรู้
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความเป็นครู.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การพัฒนาตนเอง.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์

Biography of John Dewey สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเวอร์มอนด์ ในปี 1879 หลังจากนั้นใช้เวลาว่างช่วงสั้นๆ เป็นอาจารย์สอนพิเศษที่ โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่ง ก่อนจะกลับมาศึกษาต่อจนจบปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัย จอห์น ฮอบกินส์ในปี ค.ศ.1884

John Dewey เคยดำรงตำแหน่งคณบดี Expert and Intention John Dewey เคยดำรงตำแหน่งคณบดี คณะวิชาปรัชญา จิตวิทยา และการสอน ของมหาวิทยาลัยชิกาโก้ มีบทบาทสำคัญในการบุกเบิกแนวคิดและวิธีการสอนแบบใหม่ๆ ทั้งยังได้สร้างโรงเรียนสาธิตขึ้นเพื่อใช้สำหรับทดสอบพัฒนาและ วิเคราะห์ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนการสอนและที่สำคัญ ยังถือได้ว่าเป็นนักปรัชญาทางการศึกษาแนวหน้าของโลก โดยมีปรัชญามากมายซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษา ที่แตกแขนงออกไปอย่างมากมาย

จอห์นดุย หรือจอห์น ดิวอี้ (John Dewey นักปรัชญา Dewey's laboratory school จอห์นดุย หรือจอห์น ดิวอี้ (John Dewey นักปรัชญา นักการศึกษา นักจิตวิทยา ชาวอเมริกัน มีชีวิตอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1859-1952)

แนวคิดและปรัชญาทางการศึกษา

ปรัชญาทางการศึกษา "การศึกษา คือ ชีวิต หรือ ปรัชญาทางการศึกษาโดยทั่วไป "การศึกษา คือ ชีวิต หรือ การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม การศึกษา คือ การสร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่ชีวิต" แต่ปรัชญาที่ทำให้เรานึกถึง JohnDewey คือ

Learning by Doing

ความรู้จะเกิดขึ้นได้ จากความสัมพันธ์ โดยตรง ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลจะได้รับความรู้ต่อเมื่อตนเองเป็นผู้ลงมือ กระทำเอง (Learning by doing) หาใช่คอยรับความรู้จากผู้อื่น และความรู้ที่จะยอมรับได้ว่าเป็นความจริง จะต้องเป็นผลสรุปที่สามารถสนับสนุนได้ จากหลักฐานการค้นคว้าต่าง ๆ เท่านั้น

การเรียนรู้ทางศิลปะ

แนวคิดของการเรียนรู้ศิลปะ การเรียนรู้ศิลปะ คือ การเรียนรู้โดยไร้ระบบมายึดถือ เป็นการพัฒนาทางเชาวน์ปัญญาควบคู่กับการเรียนรู้ เชื่อมั่นว่า การศึกษาที่แท้จริง ทั้งมวลมาจากการผ่านประสบการณ์ ซึ่งมิได้หมายความว่าประสบการณ์ทั้งมวลนั้น เป็นการศึกษาที่แท้จริง ประสบการณ์ กับ การศึกษาจึงไม่สามารถนำมาเฉลี่ย เป็นสมการให้เท่าเทียมกันได้โดยตรง

ปรัชญาทางการศึกษากับประชาธิปไตย

การศึกษากับประชาธิปไตยว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือทำให้ประชาชน มีความสามารถผสมผสานวัฒนธรรมและการงานอาชีพของแต่ละบุคคล ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่การศึกษาเป็นกระบวนการ ปรับเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิตอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โรงเรียนจะต้องสะท้อนความเป็นจริงของสังคม ความเป็นประชาธิปไตย จะต้องมีหลักธรรม จริยธรรม และเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์นี้ได้ การศึกษาจะต้อง ปฏิรูป กระบวนการเรียนการสอนและหลักสูตรอย่างแท้จริง

แนวคิดทางปรัชญาของ Dewey กับการนำมาใช้ในการพัฒนาการศึกษาไทย

แนวทางปรัชญาของ John Dewey โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ จัดให้สอดคล้องกับสติปัญญา และความสามารถของนักเรียน จัดให้สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน บรรยากาศการเรียนรู้ต้องให้เกิดลักษณะดังนี้ - ให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง - ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน - ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ - ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการ - ให้ผู้เรียนได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ส่วนครูต้องเปลี่ยนบทบาทจาก ผู้บอกความรู้ เป็นผู้สอนวิธีการแสวงหาความรู้ โดย 1. ( Manager ) เป็นผู้กำหนดบทบาทให้นักเรียนมีส่วนร่วม 2. ( Helper ) เป็นผู้ช่วยเหลือทางด้านวิชาการ 3. ( Supporter ) เป็นผู้สนับสนุนด้านสื่อต่าง ๆ และให้คำแนะนำ 4. ( Monitor ) เป็นผู้ตรวจสอบงานนักเรียน

END