หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
Advertisements

องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ

การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
Group Acraniata (Protochordata)
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
BIOL OGY.
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ระบบประสาท (Nervous System)
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
รายงาน เรื่อง โรคเลือดออกตามไรฟัน จัดทำโดย ด.ช. ทรงยศ แจ่มวัย เลขที่ 16 ม.1/5 ด.ช. กัมปนาท สิหงศิวานนท์
Thailand Research Expo
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
วิชากีฬา 3 (พ.013 บาสเกตบอล )
การจัดระบบในร่างกาย.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
เจ็บแน่นหน้าอก.
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
กำมือ เคาะเบาๆ ที่สันหลัง จากบนลงล่าง 6 เที่ยว
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
นอนคว่ำ ให้ผู้อื่นกดจุด นิ้วหัวแม่มือซ้ายขวา กดเบาๆ ไล่ตามแนวสันหลัง
โรคเบาหวาน ภ.
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร โรงเรียนเตรีมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ปทุมธานี
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
ครูปฏิการ นาครอด.
วิลเลียม ฮาร์วีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่ค้นพบหมุนเวียนของเลือด ซึ่งมีการไหลเวียนไปทางเดียวกัน.
THE HEART 1. เป็นก้อนกล้ามเนื้อเป็นโพรงข้างในมี 4 ช่อง ขนาดกำปั้นมือ ตั้งอยู่ใน Pericardial sac , Posterior ต่อ Sternum , เอียงซ้าย Apex อยู่ส่วนล่าง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน วิชาชีววิทยา 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ปทุมธานี

ระบบไหลเวียนเลือดของมนุษย์ ระบบไหลเวียนเลือดของมนุษย์เป็นระบบเลือดแบบปิด ซึ่งทำหน้าที่ลำเลียงอาหาร แก็สออกซิเจน ไปสู่เซลล์ต่างๆ และนำแก็สคาร์บอนไดออกไซด์และของเสียต่างๆ ออกจากเซลล์ รักษาสมดุลของร่างกาย ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ต่อสู้และป้องกันสิ่งแปลกปลอม รวมทั้งเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย ระบบไหลเวียนเลือดประกอบด้วย หัวใจหลอดเลือด และเลือด

หัวใจ Heart หัวใจ (Heart) เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นด้วยกล้ามเนื้อหัวใจที่ไม่อยู่ภายใต้อำนาจจิตใจ หัวใจ) ด้านหน้าระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง เหนือกับบังลม (Diaphragm)โดยค่อนข้างซ้ายเล็กน้อย หัวใจเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อทั้งหมด ภายในกลางทำหน้าที่เปรียบเสมือนปม 2 อันทํางานพร้อมกัน หัวใจจะวางตัวอยู่ในถุงตันที่เรียกว่า เยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial sac) เป็น Fibrous connective tissue หุ้มหัวใจไว้ ภายในถุงมีของเหลวหล่อลื่นอยู่ เพื่อป้องกันอันตรายจากการเสียดสีกับอวัยวะข้างเคียงขณะที่หัวใจมีการบีบและคลายตัว

ผนังด้านนอกของหัวใจจะมีหลอดเลือดโคโรนารี (Coronary) ทั้งหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ ทำหน้าที่นำเลือดมาหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ภายในหัวใจมีลักษณะเป็นโพรงมี 4 ห้อง โดยแบ่งเป็นห้องบน 2 ห้อง เรียกว่า เอเตรียม (Atrium) ห้องล่าง 2 ห้อง เรียกว่า เวนตริเคิล (Ventricle) หัวใจห้องบนซ้ายและล่างซ้ายมีลิ้นไบคัสพิด (Bicuspid) คั่นอยู่ ส่วนห้องบนขวาและล่างขวามีลิ้นไตรคัสพิด (Tricuspid) คั่นอยู่ ซึ้งลิ้นทั้งสองนี้ทำหน้าที่คอยปิด-เปิด เพื่อไม่ให้เลือดไหลย้อยกลับ หัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดโดยการบีบตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจเป็นจังหวะ ทำให้เลือดไหลไปตามหลอดเลือดต่างๆ หลอดเลือดแดงจะขยายตัวตามจังหวะการบีบตัวของหัวใจ เราสามารถจับจังหวะนี้ได้ตรงตำแหน่งหลอดเลือดที่อยู่ใกล้กับผิวหนัง เรียกว่า ชีพจร (Pulse)

Pulmonary Semilunar Vale The Heart Pulmonary Semilunar Vale Pulmonary Artery Aorta Pulmonary Vein Superior Venacava Aortic Semilunar Vale Right Atrium Left Atrium Tricuspid Valve Bicuspid Valve Left Ventricle Right Ventricle

หัวใจ

หัวใจ

หัวใจ

หัวใจ

กระบวนการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ห้องเอเตรียมขวาจะรับเลือดจากหลอดเลือดดำซุพีเรีย เวนาคาวา (Superior Venacava) ซึ่งนำเลือดจากศีรษะและแขน และรับเลือดจากหลอดเลือดดำอินฟีเรีย เวนาคาวา (Inferior Venacava) ซึ่งนำเลือดมาจากลำตัวและขาเข้าสู่หัวใจ เมื่อเอเตรียมขวาบีบตัว เลือดจะเข้าสู่เวนตริเคิลขวาโดยผ่านลิ้นไตรคัสพิด จากนี้เมื่อเวนตริเคิลบีบตัว เลือดจะผ่านลิ้นพัลโมนารี เซมิลูนาร์ (Pulmonary Semilunar Value) ซึ่งเปิดเข้าสู่หลอดเลือดแดงพัลโมนารี (Pulmonary Artery) หลอดเลือดนี้นำเลือดไปยังปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก็ส โดยปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ และรับออกซิเจน เลือดที่มีออกซิเจนสูงนี้จะไหลกลับสู่หัวใจทางหลอดเลือดดำพัลโมนารี (Pulmonary Vein) เข้าสู่ห้องเอเตรียมซ้าย เมื่อเอเตรียมซ้ายบีบตัว เลือดก็จะผ่านลิ้นไบคัสพิด เข้าสู่ห้องเวนตริเคิลซ้าย แล้วเวนตริเคิลซ้ายบีบตัวดันเลือดให้ไหลผ่านลิ้นเอออร์ติก เซมิลูนาร์ (Aortic Semilunar Value) เข้าสู่เอออร์ตา (Aorta) ซึ่งเป็นหลอดเลือดแดงใหญ่ จากเอออร์ตาจะมีหลอดแตกแขนงแยกไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย

กระบวนการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด

ลักษณะการบีบตัว – คลายตัวของหัวใจ

คำศัพท์ Right Atrium = หัวใจห้องบนขวา Right Ventricle = หัวใจห้องล่างขวา Left Atrium = หัวใจห้องบนซ้าย Left Ventricle = หัวใจห้องล่างซ้าย Tricuspid Valve = ลิ้นหัวใจไตรคัสปิดวาล์ว (กั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวากับล่างขวา) Bicuspid Valve (Mitral Vale)= ลิ้นหัวใจไบคัสปิดวาล์ว (กั้นระหว่างหัวใจห้องบนซ้ายกับล่างซ้าย) Pulmonary Vale = ลิ้นหัวใจพัลโมนารีเซมิลูนาร์ (กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างขวากับเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี) Aortic Vale = ลิ้นหัวใจเอออร์ติกเซมิลูนาร์ (กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายกับเส้นเลือดเอออร์ตา) Pulmonary Artery = เส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี (รับเลือดจากห้องล่างขวาไปฟอกที่ปอด) Pulmonary Vein = เส้นเลือดพัลโมนารีเวน (รับเลือดจากปอดส่งเข้าหัวใจห้องล่างซ้าย) Superior Venacava = เส้นเลือดสุพีเรียเวนาคาวา (รับเลือดดำจากร่างกายส่วนบน เช่น ศีรษะ คอ ไหล่ ไปที่ห้องบนขวา) Inferior Venacava = เส้นเลือดอินฟีเรียเวนาคาวา (รับเลือดดำจากร่างกายส่วนล่าง เช่น ขา เอว ลำตัว ไปที่ห้องบนขวา)

ให้นักเรียนศึกษากลไกการทำงานของหัวใจจากวีดีโอต่อไปนี้

The End