บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
Introduction to C Programming
Department of Computer Business
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
Computer Programming 1 LAB # 6 Function.
LAB # 4.
องค์ประกอบของโปรแกรม
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
C Programming Lecture no. 6: Function.
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
C language W.lilakiatsakun.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
Recursion การเรียกซ้ำ
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
Overview of C Programming
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง (Link List)
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
C-Programming บทที่ 8 การทำซ้ำ C Programming.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming

จันทร์ดารา Surin Campus : 2555 มีอะไรบ้างในบทนี้  6.1 ความหมายและการทำงานของ ฟังก์ชัน  6.2 ประโยชน์ของการใช้ฟังก์ชัน  6.3 วิธีการสร้างฟังก์ชันอย่างง่าย C Programming C-Programming

จันทร์ดารา Surin Campus : ความหมาย  ฟังก์ชันในภาษาซีมีอยู่ 2 ชนิดคือ  ฟังก์ชั่นที่มีอยู่ในไลบรารีของภาษาซี  ฟังก์ชั่นที่เราสร้างขึ้นเอง  ฟังก์ชั่นที่มีอยู่แล้วในภาษาซีเวลาจะเรียกใช้งานก็ ต้องทำการ include ไฟล์นามสกุล.h เช่นถ้า ต้องการใช้ฟังก์ชั่น prinf หรือ scanf จะต้อง include ไฟล์ชื่อ stdio.h มาก่อน เป็นต้น  ฟังก์ชันที่เขียนขึ้นเองใหม่เหมือนกับสร้างภาษาซี ขึ้นเองเพิ่มเติมจากที่มีอยู่แล้ว ซึ่งจะทำให้ลดความ ซับซ้อนของโปรแกรมลง C Programming C-Programming

จันทร์ดารา Surin Campus : 2555 ฟังก์ชันแรกในโปรแกรมคือ main() ตัวอย่างโปรแกรม Func1.c. #include void main() { int x,y,z; x = 100; y=23; z=x+y; printf(“%d”,z); } C Programming C-Programming มีการเรียกใช้ฟังก์ชัน printf จะเห็นว่าจะต้อง มีการ include ไฟล์ stdio.h เข้ามาก่อน

จันทร์ดารา Surin Campus : 2555 จากตัวอย่าง เราสามารถเอาคำสั่งต่างๆ ใน main() มาสร้างเป็น ฟังก์ชั่นใหม่ได้ดังนี้ C Programming C-Programming #include void test( ) { int x,y,z; x = 100; y = 23; z = x+y; printf(“%d”,z); } void main( ) { test( ); } เรียกใช้ฟังก์ชัน test( ) เพียงตัวเดียว ก็จะทำงานเหมือน คำสั่งทั้งหมดที่เขียน ไว้ในฟังก์ชัน test () ข้างบน เรียกใช้ฟังก์ชัน test( ) เพียงตัวเดียว ก็จะทำงานเหมือน คำสั่งทั้งหมดที่เขียน ไว้ในฟังก์ชัน test () ข้างบน int x,y,z; x = 100; y = 23; z = x+y; printf(“%d”,z); แยกคำสั่งบางส่วนมาใส่ในฟังก์ชัน ชื่อ test ( )

จันทร์ดารา Surin Campus : 2555 โปรแกรมเขียนใหม่จะเป็น ดังนี้ #include void test( ) { int x,y,z; x = 100; y = 23; z = x+y; printf(“%d”,z); } void main( ) { test( ); } C Programming C-Programming ส่วนของฟังก์ชัน ชื่อว่า test ( ) เรียกชื่อฟังก์ชัน test ( ) เพื่อทำงานตรงจุดนี้ ฟังก์ชันหลัก

จันทร์ดารา Surin Campus : 2555 ตัวอย่าง โปรแกรม EasyFunc1.c #include void showmenu() { printf(“==== MENU ====\n\n”); printf(“a) Say Hello\n”); printf(“b) Say Good Bye\n”); printf(“Select a or b : \n”); } Void main() { printf(“Begin\n”); showmenu(); printf(“END\n”); } C Programming C-Programming Begin ==== MENU ==== a) Say Hello b) Say Good Bye Select a or b : END