โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
สาระที่ 4 พีชคณิต.
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Functional programming part II
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
Power Series Fundamentals of AMCS.
LAB # 3 Computer Programming 1
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่านั่นคือ ถ้า f เป็นความสัมพันธ์ หรือเราสามารถเขียนฟังก์ชัน f ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การแจกแจงปกติ.
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 12 Engineering Problem 2
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Recursive Method.
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Wattanapong suttapak SE, ICT University of Phayao.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์ อาจารย์ พิศิษฐ์ นาคใจ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

ลำดับเลขคณิต ลำดับเลขคณิต คือ ฟังก์ชันที่นิยามบนเซตของจำนวนเต็มบวก ตัวเลขในลำดับแต่ละตัวเรียกว่า “พจน์ (term)” หรือเราสามารถนิยามได้ว่า ลำดับ คือ เซตของจำนวนที่เรียงเป็น a1,a2,a3, ... โดยมีการเรียงที่เป็นแบบแผนขั้นตอน เลขที่ห้อยอยู่บอกถึงตำแหน่งของเลขในลำดับนั้น

ตัวอย่างเช่น 1, 3, 5, 7, … เลขลำดับที่ 1 คือ 1, ลำดับที่ 2 คือ 3, ลำดับที่ 3 คือ 5, . . ., แล้วสามารถหารูปแบบได้ว่า ลำดับที่ nth (an) คือ 2n-1 2, 4, 6, 8, … เลขลำดับที่ 1 คือ 2, ลำดับที่ 2 คือ 4, ลำดับที่ 3 คือ 6, . . ., แล้วสามารถหารูปแบบได้ว่า ลำดับที่ nth (an) คือ 2n

ลำดับเลขคณิต ลำดับเลขคณิต จะมีผลต่างระหว่างพจน์ที่ n+1 กับ n จะมีค่าคงตัว ค่านี้เรียกว่า ผลต่างรวม เขียนแทนด้วย d ให้ a1,a2,a3,… เป็นลำดับเลขคณิต ผลต่างระหว่างพจน์ที่ n+1 กับ n มีค่า d d = a2 – a1 , a3- a2 , a4 – a3

ตัวอย่าง จงหาพจน์ที่ 15 ของลำดับ -5, -1, 3, 7, 11, … ตัวอย่าง จงหาพจน์ที่ 15 ของลำดับ -5, -1, 3, 7, 11, …. วิธีทำ an = a1 + (n-1)d จากโจทย์ a1 = -5 ,n = 15, d = -1-(-5) a15 = -5 + (15-1)(4) = -5 + (14x4) = -5 + 56 = 51

โจทย์ กำหนดลำดับเลขคณิต พจน์ที่ 5 คือ 29 พจน์ที่ 51 คือ 397 จงหาพจน์ที่ 1 ถึง 4 โจทย์ กำหนดลำดับเลขคณิต พจน์ที่ 10 คือ -28 พจน์ที่ 12 คือ -50 จงหาพจน์ที่ 6 ถึง 9 โจทย์ จงหาพจน์ที่ 20 ของลำดับ -13, -9, -5, -1, 3, …

ลำดับหลายชั้น ลำดับหลายชั้น เป็นลำดับอนุกรม มีค่าความแตกต่างระหว่างตัวเลขที่มีลักษณะเป็นเลขอนุกรมด้วย เช่น

ลำดับเว้นระยะ ลำดับเว้นระยะ เป็น ลำดับที่มีลำดับเลขคณิตประกอบเข้าด้วยกันมากกว่า 1 ลำดับ อยู่ภายในลำดับเดียวกันเช่น

แบบฝึกหัด จงหาลำดับของจำนวนถัดไปอีก 4 พจน์ 5, -10, 20, -40, ….. , …… จงหาลำดับของจำนวนถัดไปอีก 4 พจน์ 108, 43, 100, 39, 92, …. , …. จงหาลำดับของจำนวนถัดไปอีก 4 พจน์ 25, 29, 13, 49, … , …

อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต อนุกรมที่ได้จากลำดับเลขคณิต ซึ่งมีผลต่างร่วมของลำดับเลขคณิต เป็นผลต่างร่วมของอนุกรมเลขคณิตด้วย ให้ เป็นลำดับเลขคณิต จะเป็นอนุกรมเลขคณิต a1+a2+a3+a4+a5+an โดยให้ S เป็นผลรวมของลำดับเลขคณิต Sn = a1+a2+a3+a4+a5+an สูตรผลบวก n พจน์แรกของลำดับเลขคณิตคือ

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                . อนุกรมเลขคณิต การหาผลบวกของอนุกรมเลขคณิต เราสามารถเขียนอยู่ใน สัญลักษณ์ ได้โดยใช้สัญลักษณ์ SUM ดังนี้ มีความหมายว่า เป็นผลรวมของ อนุกรม an ตั้งแต่พจน์ที่ 0 จนถึง อนันต์ upper limit Index of summation lower limit

ตัวอย่าง จงเขียนสัญลักษณ์ summation 100 พจน์แรก ของลำดับ an = 1/n สำหรับ n = 1,2,3 วิธีทำ lower limit = 1 upper limit = 100

จงหาผลรวมของ จงหาค่าของ note

อนุกรมเรขาคณิต อนุกรมเรขาคณิต ( Geometric Series ) คือ อนุกรมที่เกิดจากผลบวกของลำดับเรขาคณิต ทีมีอัตราส่วนร่วม = r ใช้สัญลักษณ์ sn แทนผลบวกของ n เขียนแทนเป็น ตัวอย่าง 1 พิจารณา ลำดับ 1 , 3 , 9 , 27 , ………, 6561 พบว่าเป็นลำดับเรขาคณิตที่มี อัตราส่วนร่วมเป็น 3

การหาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของลำดับเรขาคณิตข้างต้นทำได้ดังนี้ ให้ S n = 1 + 3 + 9 + 27 + …………+ 6,561 …………..(1) 3 Sn = 3 (1 + 3 + 9 + 27 + …………+ 6,561 ) 3 Sn = 3 + 9 + 27 + …………+ 6,561 + 19,683 ………..(2) (2) - ( 1) 2 S n = 19,683 - 1 2 S n = 19,682 S n = 9,841 ดังนั้น 1 + 3 + 9 + 27 + …………+ 6,561 = 9,841

การหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้สูตร a 1 + a1r + a1r2 + a1r 3 + …………….+ a1r n –1 ได้ดังนี้ Sn = a 1 + a1r + a1r2 + a1r 3 + …………….+ a1r n –1 ……. (3) r Sn = a1r + a1r2 + a1r 3 + …………….+ a1r n –1 + a1rn …..(4) (4) – (3) rSn - Sn = a1rn - a1 Sn ( r – 1 ) = a1rn - a1 Sn =

= ตัวอย่าง 1 จงหาผลบวกแปดพจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 1 + 2 + 4 + 8 +……. วิธีทำ อนุกรมที่กำหนดให้มี a 1 = 1 , r = 2 , n = 8 จาก Sn = Sn = = ดังนั้นผลบวกแปดพจน์แรกของลำดับเรขาคณิตคือ 255

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของลำดับเรขาคณิต วิธีทำ อนุกรมที่กำหนดให้มี a1 = Sn = Sn =

แบบฝึกหัด จงหาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิต 2 + 4 + 8 + .... + 2048

Double Summation หมายถึงการที่มีลำดับอนุกรมมากกว่า 2 อนุกรมซ้อนกันอยู่เราเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ของ summation ได้ดังนี้ ตัวอย่าง

การหาผลบวก โดยไม่ขึ้นกับ Index เราสามารถหาผลของการบวกของ Function บาง Index of summation ได้ โดยทำการเขียน index of summation ให้อยู่ในรูปของเซต ซึ่งสามารถเขียนได้ดังนี้ ตัวอย่าง ทำการหาค่าของ ผลบวก

Closed Form SUM Closed Form

แบบฝึกหัด จงหาค่าของ กำหนดให้ จงหาค่าของ และ

กิจกรรมกลุ่มละ 3 คน เขียนด้วยภาษาใดก็ได้ จงเขียนโปรแกรมเพื่อหาผลของ โดยใช้ Loop ห้ามใช้ Form ปิด จงเขียนโปรแกรมเพื่อหาผลของ โดยใช้ Loop ห้ามใช้ Form ปิด จงเขียนโปรแกรมเพื่อหาค่าของ โดยใช้ Loop ห้ามใช้ Form ปิด นำรหัสนักศึกษารวมกันทุกคน หากได้เลข คู่ ทำเฉพาะข้อที่เป็นคู่ หากได้คี่ทำเฉพาะที่เป็นเลขคี่