ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
พลังงานอิสระ (Free energy)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
หินแปร (Metamorphic rocks)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การตรวจวัดน้ำมันเชื้อเพลิง ณ คลังน้ำมันฯ
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การกระทำทางคณิตศาสตร์
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร ระบบหรือปฏิกิริยาใด ๆ อยู่ในภาวะสมดุลแล้ว สารต่าง ๆ ในระบบจะมีความเข้มข้นคงที่ สมการที่แสดงปฏิกิริยาในภาวะสมดุลที่สมบูรณ์แล้ว และใช้ในการพิจารณาค่าคงที่สมดุลได้ คือ “ อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ยกกำลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำนวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ กับผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือแต่ละชนิดยกกำลัง สัมประสิทธิ์บอกจำนวนโมลของสารที่เหลือนั้นที่ภาวะสมดุล จะมีค่าคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ ”

พิจารณาได้จากสมการง่าย ๆ ดังนี้ aA(g) + bB(g) cC(g) + dD(g) K = เมื่อ K = ค่าคงที่สมดุล [ ] = ความเข้มข้นของสาร มีหน่วย โมล/ลิตร a,b,c,d = สัมประสิทธิ์บอกจำนวนโมลของสารในปฏิกิริยา ที่สมดุลแล้ว

ตัวอย่างการเขียนแสดงค่าคงที่สมดุลองปฏิกิริยาต่อไปนี้ (1) 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) K = SO2(g) + O2(g) SO3(g)

ถ้ามีสารในระบบเป็นของแข็ง และสารบริสุทธิ์ ในการคิดค่า K ไม่ต้องเอามาเกี่ยวข้อง เพราะถือว่าความเข้มข้นเปลี่ยนแปลงน้อยมาก จนถือว่าคงที่ เพราะว่าความเข้มข้นของของแข็ง ก็คือมวลต่อปริมาตร ซึ่งได้แก่ ความหนาแน่น นั่นเอง

ปฏิกิริยา 2NO(g) + 2H2(g) N2(g) + 2H2O(g) สมมติว่ามีกลไกได้ 3 ขั้นดังนี้ (1) 2NO(g) N2O2(g) ขั้นเร็ว (2) N2O2(g) + H2(g) N2O(g) + H2O(g) ขั้นช้า (3) N2O(g) + H2(g) N2(g) + H2O(g) ขั้นช้า K = (ไม่คำนึงถึงกลไกขั้นย่อย ๆ แต่อย่างใด)

หน่วยของค่าคงที่สมดุล หน่วยของค่าคงที่ของสมดุลจะแตกต่างกันไปสำหรับแต่ละปฏิกิริยา โดยปกติในการใช้ ค่า K เราจะไม่สนใจที่หน่วย เนื่องจากไม่ค่อยมีความหมายที่สำคัญนัก สิ่งที่สำคัญจะอยู่ที่ค่าที่เป็นตัวเลข จึงนำมาใช้เฉพาะค่าตัวเลขเท่านั้น

สมบัติบางประการของค่าคงที่สมดุล ข้อควรทราบเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล (K) 1. ค่า K จะคงที่เสมอ ๆ สำหรับปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ ไม่ว่าจะ รบกวนสมดุลด้วยปัจจัยใด ๆ ก็ตาม ยกเว้น อุณหภูมิ นั่นคือ K จะคงที่เมื่ออุณหภูมิคงที่ และจะเปลี่ยนไปเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 2. ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนไป (เพิ่ม, ลด) แล้วผลิตภัณฑ์มากขึ้น ค่า K ก็จะมากขึ้นด้วย ถ้าผลิตภัณฑ์ลดลง (ย้อนกลับ) ค่า K ก็จะ ลดลงด้วย

3. เมื่ออุณหภูมิของระบบเปลี่ยนไปมีผลทำให้ภาวะสมดุล และค่าคงที่สมดุล (K) เปลี่ยนไปด้วย ให้พิจารณาดังนี้ A(g) + B(g) C(g) + D(g) ; ปฏิกิริยาดูดความร้อน เมื่อเพิ่มอุณหภูมิทำให้ [C] และ [D] เพิ่มขึ้น [A], [B] ลดลงเพราะ A รวมกับ Bได้ C เพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น K1 = K2 =  K2 > K1 ในทางตรงกันข้าม ถ้าลดอุณหภูมิลงก็จะได้ว่าปฏิกิริยาดูดความร้อนจะ ย้อนกลับให้ A, B เพิ่มขึ้น และ C, D จะลดลง การที่สารผลิตภัณฑ์เกิดเพิ่มขึ้น หรือลดลง นี้เอง ทำให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนไป

การบอกค่า K จะต้องอ้างถึงสมการที่บอกมาด้วยเสมอ ว่าเกิดมากหรือน้อย

ค่า K เมื่อสมการเปลี่ยนแปลง A + 2B C ; K1 C A + 2B ; K2 = หรือ K1  K2 = 1

(3) เอา n ไปหารสมการ Kใหม่ = A + 2B 3C ; K1 A + B C ; Kใหม่ = (2) เมื่อเอา n คูณสมการ Kใหม่ = (Kเดิม)n A + B 2C ; K1 nA + nB 2nC ; Kใหม่ = (K1)n (3) เอา n ไปหารสมการ Kใหม่ = A + 2B 3C ; K1 A + B C ; Kใหม่ =

(4) มีหลายสมการรวมกัน Kใหม่ = K1  K2 A + B X ; K1 สมการ 1 B + X D ; K2 สมการ 2 1 + 2 ; A + 2B D ; Kใหม่ = K1  K2

(5) มีหลายสมการลบกัน Kใหม่ = จาก (4) 1 - 2 ; A + B - B - X X - D A + D 2X Kใหม่ =

ความสัมพันธ์ของค่า Kc เมื่อคิดความเข้มข้น กับ Kp เมื่อคิดความดันก๊าซ 2A(g) + B(g) C(g) + D(g) ; Kp = (RT)n  Kc n = ผลต่างของจำนวนโมลก๊าซผลิตภัณฑ์กับ โมลก๊าซสารตั้งต้น = 2 – 3 = -1  Kp = (RT) -1  Kc

การทำนายทิศทางของปฏิกิริยาโดยใช้ค่า K เมื่อระบบเข้าสู่ภาวะสมดุล ปริมาณสารผลิตภัณฑ์และสารตั้งต้นจะมี ค่าคงที่ค่าคงที่สมดุล (K) ก็จะคงที่ ค่าคงที่สมดุลนี้อาจจะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยา และค่า K จะบอกให้ทราบถึงอัตราส่วนปริมาณสาร ผลิตภัณฑ์ต่อสารตั้งต้น ซึ่งจะทำให้ทราบว่าปฏิกิริยาดำเนินไปในทิศทางใด ถ้า K > 1 ความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์มีค่ามากกว่าความเข้มข้นของ สารตั้งต้น ตำแหน่งของภาวะสมดุลจะอยู่ไปทางด้านขวา (ไปทางด้านสาร ผลิตภัณฑ์) ถ้า K < 1 ความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์มีค่าน้อยกว่าความเข้มข้นของ สารตั้งต้น ตำแหน่งของภาวะสมดุลจะอยู่ไปทางด้านซ้าย (ไปทางด้านสารตั้งต้น) ถ้า K = 1 ความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์และความเข้มข้นของสารตั้ง ต้นจะใกล้เคียงกัน

จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้นของสารที่ ภาวะสมดุลของปฏิกิริยา A2(g) + B2(g) 2AB(g) C2H4 (g) + H2 (g) C2H6(g) ค. 2Fe3+ (aq) + 2I- (aq) 2Fe2+ (aq) + I2 (aq)

เฉลย K = ข. K = ค. K =

แบบฝึกหัด 1. สำหรับปฏิกิริยา H2 (g) + Br2 (g) 2HBr (g) ; K = 4.0 x 10-2 จงหาค่า K ของปฏิกิริยา HBr (g) 1/2 H2 (g) + 1/2 Br2(g) 2. กำหนดค่า K ของปฏิกิริยาต่อไปนี้ 1) N2 (g) + O2 (g) 2NO (g) ; K = 4.1 x 10-31 2) N2 (g) + 1/2 O2 (g) N2O (g) ; K = 2.4 x 10-18 ให้หาค่า K ของสมการ N2O (g) + 1/2 O2 (g) 2NO (g)

เฉลย 1) H2 (g) + Br2 (g) 2HBr (g) ; K1 = 4.0 x 10-2 กลับสมการที่ 1) จะได้สมการที่ 2) ดังนี้ 2)2HBr (g) H2 (g) + Br2 (g) ; K2 = K2 = = 25 สมการที่ 2) หารด้วย 2 จะได้สมการที่ 3) ดังนี้ 3) HBr (g) 1/2 H2 (g) + 1/2 Br2 (g) ; K3 = (K2) K3 = (25) = = 5

เฉลย สมการที่ 1) N2 (g) + O2 (g) 2NO (g) ; K1 = 4.1 x 10-31 สมการที่ 2) ได้จากการกลับข้างสมการที่ 2 จะได้ N2O (g) N2 (g) + 1/2 O2 (g) ; K2 = = 4.2 x 1017 รวมสมการที่ 1 และสมการที่ 2 จะได้ N2O (g) + 1/2 O2 (g) 2NO (g) ; K = K1 . K2 = (4.1 x 10-31 )x (4.2 x 1017) = 1.7 x 10-13