การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
Advertisements

การลดความวิตกกังวล.
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
สาเหตุของการติดยาเสพติด
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
โรคสมาธิสั้น.
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
โรคเอสแอลอี.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ปัญหาเด็กไทย 1. เร่ร่อน/ ถูกทอดทิ้ง 6. เสพบุหรี่ สุรายาเสพติด
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
ณัฐปาณี แววทองคำ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานสูติกรรม
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
คำถาม Delirium แยกจาก Dementia อย่างไร
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
ระยะเว ลา ประเด็น วิธีการ / ช่องทาง การ ประชาสัมพั นธ์ ผู้รับผิดช อบ ตุลาคม ๒๕๕๗ วันสุขภาพจิตโลก ๑๐ - ประเด็นที่กรมสุขภาพจิตกำหนด ความสุขสร้างได้ด้วยตัวเรา.
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
Cognitive of Depressive Disorder
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต ชนิกรรดา ไทยสังคม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต

1. ท่านเคยพบเห็นหรือรู้จักคนที่มีภาวะบกพร่องทางจิตหรือไม่. 2 1. ท่านเคยพบเห็นหรือรู้จักคนที่มีภาวะบกพร่องทางจิตหรือไม่ ? 2. ภาวะบกพร่องทางจิตในความคิดท่านคืออะไร ? 3. ท่านรู้สึกอย่างไรต่อผู้ที่มีภาวะบกพร่องทางจิต/ป่วยโรคจิต ?

ความหมายของโรคจิต           โรคจิต เป็นความผิดปกติของจิตใจ ซึ่งการทำงานของจิตใจเสียหน้าที่ไปอย่างเห็นได้ชัดเจน จนทำให้บุคคลนั้นไม่สามารถดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติ ประกอบด้วยอาการทั่วไป 3 ประการ คือ           1) บุคลิกภาพเดิมของผู้ป่วยเปลี่ยนไป           2) ไม่อยู่ในโลกของความจริง           3) ไม่รู้สภาวะตนเอง 

สาเหตุ กรรมพันธุ์

สาเหตุ ความผิดปกติของสมอง

สาเหตุ สารเสพติด

สาเหตุ ความกดดันทางจิตใจและสังคม

สรุป อาการของโรคจิต...ประกอบด้วย ความผิดปกติด้านความคิด : มีความคิดหลงผิด ความผิดปกติด้านการรับรู้ : มีประสาทหลอน ความผิดปกติทางด้านอารมณ์ : ยิ้มคนเดียว สีหน้าทื่อเรียบเฉย ความผิดปกติด้านการพูด : คำพูดสับสน พูดเพ้อเจ้อ ความผิดปกติด้านพฤติกรรม : แยกตัว พูดคนเดียว คลุ้มคลั่ง และการแสดงออก

ผู้วิเศษ

อารมณ์เปลี่ยน

แต่งตัวที่มีลักษณะแปลกไม่เหมาะสม

แยกตัวเองออกจากสังคม ไม่สุงสิงกับใคร

วิธีการรักษา รักษาด้วย ยา (กิน / ฉีด)

วิธีการรักษา รักษาด้วยไฟฟ้า

วิธีการรักษา การรักษาด้านจิตใจ

วิธีการรักษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม

ผลข้างเคียงของยา ปากแห้ง คอแห้ง

ผลข้างเคียงของยา

ผลข้างเคียงของยา ง่วงนอน

การดูแลผู้ป่วย กิน / ฉีดยาสม่ำเสมอ งดสิ่งเสพติด

การดูแลผู้ป่วย ให้กำลังใจผู้ป่วย ไม่พูดจายั่วยุ

การดูแลผู้ป่วย เก็บอุปกรณ์ มีด ให้มิดชิด พาผู้ป่วยเข้าสังคม

การดูแลผู้ป่วย สังเกตอาการผิดปกติของผู้ป่วย

ปัญหาที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วย ไม่ยอมกินยา ซึม เฉย ไม่สนใจใคร

ปัญหาที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วย หวาดกลัว ทำลายข้าวของ วุ่นวาย กลางคืนไม่นอน

สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ ขาดยา (ไม่กิน / ฉีด)

สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ กดดันทางจิตใจ

สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ สารเสพติด

สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ อดนอน

โรคซึมเศร้า

สาเหตุ กรรมพันธุ์ จิตใจ

สาเหตุ การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน ป่วยโรคทางกาย

มีอาการอย่างน้อย 5 อย่างหรือ มากกว่า ติดต่อกัน อย่างน้อย 2 สัปดาห์ วิธีการสังเกตุ มีอาการอย่างน้อย 5 อย่างหรือ มากกว่า ติดต่อกัน อย่างน้อย 2 สัปดาห์

เศร้าตลอดทั้งวัน (เด็ก หรือ วัยรุ่นอาจหงุดหงิดง่าย โกรธง่าย) วิธีการสังเกตุ เศร้าตลอดทั้งวัน (เด็ก หรือ วัยรุ่นอาจหงุดหงิดง่าย โกรธง่าย)

วิธีการสังเกตุ ไม่สนใจกิจกรรมต่างๆ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด

วิธีการสังเกตุ นอนไม่หลับ หรือ นอนมากทั้งวัน คิดช้า พูดช้า เคลื่อนไหวช้า

วิธีการสังเกตุ เหนื่อย เพลียง่าย ไม่มีแรง รู้สึกไร้ค่า

วิธีการสังเกตุ รู้สึกไร้ค่า คิดอยากตาย พยายามฆ่าตัวตาย

เครียด ซึมเศร้า ปัจจัยฆ่าตัวตาย เครียด ซึมเศร้า ปัจจัยฆ่าตัวตาย

อาการ สัญญาณเตือน สีหน้าเศร้า ซึม หม่นหมอง รู้สึกผิดหวังอย่างรุนแรง สิ้นหวัง ไร้ค่า

อาการ สัญญาณเตือน มีการวางแผนการฆ่าตัวตาย / ทำร้ายตนเอง ป่วยโรคร้ายแรง / ป่วยโรคเรื้อรัง

อาการ สัญญาณเตือน สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก คนในครอบครัว มีประวัติฆ่าตัวตาย

อาการ สัญญาณเตือน เข้ารักษาในโรงพยาบาล ด้วยการ ฆ่าตัวตายมาก่อน มีความเครียดและถูกกดดันอย่าง หนัก

วิธีการป้องกันและแก้ไข ยอมรับว่ามีความทุกข์ หาสาเหตุของความทุกข์

วิธีการป้องกันและแก้ไข ระบายความทุกข์ หาคนช่วยเหลือ หากิจกรรมทำเพื่อผ่อนคลาย

บริการให้คำปรึกษา โทรศัพท์สายด่วน 1323 ฟรี

คำถามยอดฮิต ผู้ป่วยต้องกินยานานเท่าไร ทำไมผู้ป่วย ไม่กินยา

ผู้ป่วย รพ.ชุมชน วัด อบต. อปท. กำนัน/ผญบ เพื่อนบ้าน รพสต เพื่อนบ้าน โรงเรียน บ้าน อสม.

ได้แค่นี้ ฉันก็พอใจแล้ว

ข้อเสนอแนะ คำถาม