วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง ส่วนใหญ่จะอยู่ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมา มีวรรณกรรมเกิดขึ้นหลายประเภท เช่น กาพย์ห่อโคลง นิราศ ฉันท์ เป็นต้น มีทั้งเรื่องที่แต่งเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เรื่องประเภท สดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ การบรรยายความสวยงามของธรรมชาติ ความเชื่อในธรรมชาติ และเรื่องการเกี้ยวพาราสี
ตัวอย่าง.... ๑) โคลงซะลอพระพุทธไสยาสน์ ๒) นันโทปนันทสูตรคำหลวง ๓) พระมาลัยคำหลวง ๔) กาพย์เห่เรือ ๕) กาพย์ห่อโคลงประพาสทองแดง ๖) กาพย์ห่อโคลงนิราศ (ธารโศก) ๗) เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร ๘) บทละครเรื่องดาหลังและอิเหนา ๙) โคลงนิราศพระบาท ๑O) กลบทสิริวิบุลกิติ ๑๑) ปุณโณวาทคำฉันท์
วรรณคดี ที่ปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีอยู่ดังนี้ วรรณคดี ที่ปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีอยู่ดังนี้ พระนิพนธ์ในพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศใช้คำประพันธ์ร้อยกรอง ประเภทโคลงสี่สุภาพเพื่อบันทึกเรื่องราว ประพันธ์โดย เจ้าฟ้าอภัยใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ มีเพียง ๒๕ บท เพื่อพรรณนาความรู้สึกที่ต้องจากนางที่รัก และบันทึกการเดินทางจากกรุงศรีอยุธยาไปลพบุรี
ประพันธ์โดยเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทร่ายยาว เพื่อสอนศาสนาพุทธ ประพันธ์โดยเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรใช้คำประพันธ์ร้อยกรองประเภทร่าย มีโคลงสี่สุภาพในตอนท้าย เพื่อสอนศาสนาพุทธและเมื่อพบพระศรีอาริยเมตไตรย
กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก กาพย์ห่อโคลงประพาสธาร กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก กาพย์ห่อโคลงประพาสธาร ทองแดงประพันธ์โดยเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ใช้คำประพันธ์ร้อยกรองประเภท กาพย์ห่อโคลง ยกเว้นกาพย์เห่เรือใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกาพย์เห่ เพื่อใช้เห่เรือในการเสด็จประพาสพระพุทธบาทของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก เพื่อพรรณนาถึงนางในนิราศ กาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง เพื่อพรรณนาธรรมชาติในการเดินทางจากอยุธยา ไปยังพระพุทธบาทที่จังหวัดสระบุรี
๖.เพลงยาวเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ประพันธ์โดย เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกลอนเพลง เพื่อแสดงความรัก แสดงโวหารต่างๆ ตัวอย่างเช่น “ปางพี่มาดหมายสมานสุมาลย์สมร ดังหมายดวงหมายเดือนดารากร อันลอยพื้นอัมพรโพยมพราย แม้นพี่เหิรเดินได้ในเวหาส ถึงจะมาดก็ไม่เสียซึ่งแรงหมาย มิได้ชมก็พอได้ดำเนินชาย เมียงหมายรัศมีพิมานมอง”
๗.บทละครเรื่องดาหลังและอิเหนา (อิเหนาใหญ่และอิเหนาเล็ก) อิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) เจ้าฟ้าหญิงกุณฑล อิเหนาเล็ก เจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกลอนบทละคร เพื่อใช้เล่นละคร
ประพันธ์โดย พระมหานาค วัดท่าทราย ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทคำฉันท์ เพื่อบันทึกการสมโภชพระพุทธบาทที่จังหวัดสระบุรี ประพันธ์โดย พระมหานาค วัดท่าทราย ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ เพื่อบันทึกการเดินทาง
๑๐.กลบทศิริบุลกิตติ ประพันธ์โดย หลวงศรีปรีชา (เซ่ง) ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกลอนกลบท (๘๖ ชนิด) เพื่อเล่านิทานชาดก และเพื่อเป็นอานิสงส์ให้สำเร็จเป็นพระรหันต์
นางสาว นัฏชนันท์ เชาวน์เสฏฐกุล เลขที่ ๗ ม. ๕/๓ นางสาว นัฏชนันท์ เชาวน์เสฏฐกุล เลขที่ ๗ นางสาว พิชามญชุ์ หว่างสกุล เลขที่ ๘ นางสาว อภิญญา มาลินีรัตน เลขที่ ๑๐ นางสาว ปภาวริณ จันทรา เลขที่ ๑๕ นางสาว ณัฐชนก ถาวรมาศ เลขที่ ๒๕ นางสาว พิชญาภา ปานแก้ว เลขที่ ๒๘
จบการนำเสนอ :D ขอบคุณค่ะ