บทที่ 7 การควบคุมคุณภาพ
บทนำ การควบคุมคุณภาพถือเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการควร คำนึงถึง เพราะถือเป็นการสร้างความจงรักภัคดีต่อ ตราสินค้าและการแย่งชิงลูกค้าจากการแข่งขัน ดังนั้นการควบคุมคุณภาพจึงจัดเป็นเครื่องมือหนึ่งในการ สร้างความเจริญเติบโต หากคุณภาพยิ่งสูงขึ้นมาก เท่าใด ระดับความพึงพอใจจะยิ่งเพิ่มสูงขึ้นมาก เท่านั้น
อะไรเป็นตัวบอกว่ามีคุณภาพ? ความเหมาะสมกับการใช้(Fitness for use) ความสะดวกในการเปลี่ยนแปลง(Freedom from Variation) ตรงความต้องการ(Conformance for Requirement)
คุณภาพ(Quality) คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์และการ บริการที่ตรงต่อความต้องการอย่าง เหมาะสมในการใช้งาน มีความ คงทน สวยงาม และความ ปลอดภัยในการใช้งาน
ระบบคุณภาพ(Quality System) โครงสร้างของการจัดการภายในองค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นตอนการ ทำงาน และทรัพยากรอื่นๆสำหรับการ บริหารงานให้เกิดคุณภาพ
การประกันคุณภาพ(Quality Assurance) กิจกรรมหรือการปฏิบัติใดๆที่มีขึ้นเพื่อการ ประเมินคุณภาพ เพื่อให้เกิดความ เชื่อมั่นว่า จะได้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ มีลักษณะตรงต่อความต้องการ
สูตรที่ควรทราบ
คุณลักษณะของคุณภาพ การออกแบบ(Design) การผลิต(Production) ความสามารถในการปฏิบัติ(Ability) การบริการ(Service)
ลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน เกี่ยวกับคุณภาพ
การออกแบบ การช่วยเหลือและการบริการหลังการขาย การกำจัดหลังการใช้ การวิจัยตลาด การออกแบบ การวางแผนกระบวนการผลิต การผลิต การตรวจสอบ/ทดสอบ การบรรจุ/การเก็บรักษา การจำหน่าย/การจัดส่ง การติดตั้งและการใช้งาน การช่วยเหลือและการบริการหลังการขาย การกำจัดหลังการใช้
ปัจจัยที่ต้องพิจารณา(4Cs) ลูกค้า(Customer) การแข่งขัน(Competition) ต้นทุน(Cost) วิกฤติการณ์(Crisis)
สำนักงานที่กำกับดูแลมาตรฐาน ในปรเทศ ต่างประเทศ สำนักงานมาตรฐาน อุตสาหกรรม(สมอ.) International Standard Organization
การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้คาดการณ์ (Random Fluctuation) ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) ส่วนป้อนกลับ (Feedback)
การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพ
ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ (Prevention Apprisal Cost) ค่าใช้จ่ายรวม (Total Cost) ค่าใช้จ่าย (Quality Cost) ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ (Prevention Apprisal Cost) ค่าใช้จ่ายในการมีสินค้าไม่ได้มาตรฐาน (Quality Cost) ปริมาณการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม (Optimum) ปริมาณการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม (Quality of Conformance)
การควบคุมเชิงสถิติ การตรวจสอบความผันแปร การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ การควบคุมกระบวนการผลิต การตรวจสอบคุณลักษณะ การตรวจสอบความผันแปร
การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
แผนการสุ่มตัวอย่าง แผนชักอย่างเชิงเดี่ยว(Single Sampling) แผนชักอย่างเชิงคู่(Double Sampling) แผนชักอย่างต่อเนื่อง(Sequential Sampling) กราฟคุณลักษณะ(Operating Characteristic Curve or)
แผนชักอย่างเชิงเดี่ยว (Single Sampling) n:ขนาดของสิ่งตัวอย่าง(Sample size) d:ค่ายอมรับ(Acceptance number) Re:ค่าปฏิเสธ(Rejection number)
แผนชักอย่างเชิงเดี่ยว (Single Sampling) d:จำนวนของเสีย n:ขนาดของสิ่งตัวอย่าง ยอมรับlot ปฏิเสธlot
แผนชักอย่างเชิงคู่(Double Sampling) ยอมรับlot ปฏิเสธlot ชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 2 พบของเสียครั้งที่ 2
แผนชักอย่างต่อเนื่อง(Sequential Sampling) ช่วงปฏิเสธ ของเสียสะสม ช่วงที่สุ่มตัวอย่างต่อไป ช่วงที่ยอมรับ จำนวนตัวอย่างสุ่มสะสม
กราฟคุณลักษณะ(Operating characteristic cuve) โอกาสที่จะยอมรับ อัตราร้อยละของเสียที่มีอยู่ที่มีอยู่ในสินค้า
การควบคุมกระบวนการผลิต Process Control
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต สาเหตุ 1 เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ สาเหตุ 2 เกิดจากความผิดปกติขององค์ประกอบการผลิต
กำหนดมาตรฐานที่ต้องการ เริ่ม กำหนดมาตรฐานที่ต้องการ สังเกตการณ์ปฏิบัติงาน (เก็บข้อมูล) ผลจากการสังเกตุมาตรฐาน ไม่ต้องปรับปรุง ปรับปรุงแก้ไขวิธีปฏิบัติงาน เสร็จสิ้น
แผนภูมิการควบคุม(Control Chart) UCL CL LCL
ชนิดของแผนภูมิการควบคุม แผนภูมิควบคุม(X-r Chart) แผนภูมิควบคุมจุดเสีย (Control Chart for defect per sample : C-chart) แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (Control Chart per attributes : p-chart)
สูตร ความหมาย : สัดส่วนของเสียทั้งหมดจากกระบวนการผลิต : สัดส่วนของเสียทั้งหมดจากกระบวนการผลิต A : จำนวนผลิตภัณฑ์เสียทั้งหมด N : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ทำการตรวจสอบทั้งหมด
สูตร
จำนวนของเสียในตัวอย่าง ตัวอย่างที่ 7.3 การใช้แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย(P-Chart) เพื่อปรับปรุงคุณภาพ ในการตรวจสอบของเสีย โดยใช้ตัวอย่าง 10 กลุ่มๆ 1000 คน จำนวนของเสียในตัวอย่างทดสอบแต่ละวันดังนี้ วันที่ จำนวนของเสียในตัวอย่าง สัดส่วนของเสีย(p) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 50 20 32 38 48 41 30 18 27 46 0.00 0.02 0.03 0.04 0.05 A 350
คำนวณค่าเฉลี่ยของเสีย(สัดส่วนของเสีย)ใน แผนภูมิควบคุม P-Chart
หาขอบเขตสูงสุดของแผนภูมิควบคุม P-Chart
หาขอบเขตต่ำสุดของแผนภูมิควบคุม P-Chart
แผนภูมิการควบคุม(Control Chart) UCL=0.06 CL=0.04 LCL=0.02
การควบคุมคุณภาพเชิงรวม (Total Quality Control) รวมทุกกิจกรรม(ทั้ง องค์กร) ฝ่ายทุกฝ่าย คนทุกคน
องค์ประกอบการควบคุมคุณภาพเชิงรวม การยึดคุณภาพและความพึงพอใจของ ลูกค้า มีการวางแผนกลยุทธ์ มีการกำหนดนโยบาย มีการประสานงานระหว่างหน่วยงาน มีผู้บริหารที่รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีกลไกการบริหารงานที่มีคุณภาพ ประจำวัน มีพนักงานเข้าร่วมการประกันคุณภาพ
สรุป(TQC) ระบบการบริหารงาน ที่เน้น คุณภาพเป็นหลัดโดยเน้นกำหนดกล ยุทธ์มุ่งสู่คุณภาพทั่วทั้งองค์กร
วัฏจักรของเดมิ่ง ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน (Plan) ขั้นตอนที่ 2 การปฏิบัติ(Do) ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบ(Check) ขั้นตอนที่ 4 การปรับปรุงแก้ไข(Action)
กลุ่มวงจรคุณภาพ (Quality Circle:QC) ลักษณะ รวมตัวกันโดยสมัครใจ ปรับปรุงงานโดยอิสระ ไม่ขัดต่อนโยบายหลักของ องค์กร
วัตถุประสงค์ ต้องการเพิ่มขีดความสามารถในการ ควบคุมงาน ต้องการให้ทุกคนมีส่วนร่วมใน กิจกรรม มีขวัญและกำลังใจ ต้องการให้กิจกรรมทั้งองค์กรเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน
ขั้นตอนการสร้างวงจรคุณภาพ การวางแผนวงจรคุณภาพ การวางแผน การฝึกอบรม ขั้นแนะนำ การปฏิบัติการ
โครงสร้างการบริหารงานการควบคุมคุณภาพ หน้าที่ด้านคุณภาพ หน้าที่ตรวจรับ ตรวจรับ กรรมวิธี ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ตรวจสอบเครื่องมือ วัด สำรวจวิจัยข้อมูล หน้าที่ป้องกัน วิเคราะห์ต้นทุน สำรวจ ขีดความสามารถ กำหนดแผนทดลอง กำหนดวิธีสุ่มตัวอย่าง การฝึกอบรม หน้าที่ประกัน จัดการคำร้องเรียน ตรวจสอบคุณภาพ ตัดสินใจในการ กำหนดคุณภาพ รายงานต้นทุน คุณภาพ
เทคนิคต่างๆในกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ พาเรโต กราฟ(Pareto diagram graph) ผังก้างปลา(Cause & effect diagram) การกระจายความถี่(Fraquency distribution)และฮิสโต แกรม(Histogram) รายการตรวจสอบ(Checklist) ผังควบคุม(Control Chart) ผังแสดงความเป็นไปได้ในหลายมิติ(Binomial Probability sheet) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์กัน(Correlation)
END