ความสำเร็จที่ผ่านมา สำเร็จจริงหรือ ?.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำเร็จที่ผ่านมา สำเร็จจริงหรือ ?

การรักษาพยาบาล โรคเรื้อรัง ทำไมจึงได้ผลน้อย บริการให้สุขศึกษา และความรู้ การเข้าถึงการบริการในสถานพยาบาล โรคเรื้อรังทุกชนิด ล้วนมีจุดเริ่มต้นจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ความเรื้อรังต่อเนื่องและเลวร้ายลงจากปัจจัยต่างๆ รวมถึงพฤติกรรมที่ยังแก้ไขไม่ได้ นั่นคือ จุดที่ต้องแก้ไขที่แท้จริง ระบบส่งต่อที่ครบวงจร การรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ ระบบเยี่ยมบ้านด้วยสหสาขาวิชาชีพและความร่วมมือหลายระดับ บริการด้าน การป้องกันโรคสิ่งแวดล้อม เอื้อต่อสุขภาพ ที่ครอบคลุมเข้าถึงในระดับชุมชน รณรงค์โครงการ ตั้งชมรม ในชุมชน

แนวทางสำคัญ นำสู่สุขภาวะ ประกอบด้วย เกี่ยวข้องกับ

ประกอบด้วย ขึ้นอยู่กับ

แต่ผลงานส่วนใหญ่กลับไม่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นเรื่องของ คนกับคน และ คนกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่มักทำกันมักมุ่งจัดตั้ง ชี้นำหรือทำให้โดย พยายามปรับสิ่งแวดล้อม จัดการให้คนต้องเปลี่ยนแปลง มักส่งผลกระทบกับผู้คนทีละมาก แต่ผลงานส่วนใหญ่กลับไม่ยั่งยืน

การพัฒนาที่สำเร็จและยั่งยืน 1. เปลี่ยนพฤติกรรมคนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ฯ (พัฒนาศักยภาพคน) 2. ให้คนในพื้นที่ฯ เป็นคนทำ คนรับผิดชอบ คนควบคุม (เป็นเจ้าของ) 3. คนนอก เป็นคนอำนวยให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (เพิ่มพลังอำนาจ)

แผ้วถางสู่ธรรมาภิบาลที่ดี ” “ วิสัยทัศน์จากบริบท ร่วมกำหนดพันธกิจ ร่วมคิดร่วมสร้าง แผ้วถางสู่ธรรมาภิบาลที่ดี ”

องค์กรร่วมสร้างสุขภาวะเพื่อสาธารณชน องค์กรสาธารณสุข เป็น องค์กรร่วมสร้างสุขภาวะเพื่อสาธารณชน ฝันให้ไกล ไปให้ถึง อยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง การทำความเข้าใจกับความต้องการที่ลึกซึ้งแท้จริงของผู้คน เพื่อเข้าถึงบริบทของท้องถิ่นและผู้คนที่เราจะต้องสัมพันธ์ด้วย ไม่สามารถคิดเองหรือสังเคราะห์จากข้อมูลได้ทั้งหมดโดยขาดการมีส่วนร่วมจากผู้คนเหล่านั้น

ธรรมาภิบาลที่ดีขึ้นของสถานพยาบาล อย่างน้อยคือ การที่พวกเรามีความเป็นเจ้าของสถานพยาบาลลดลง ในขณะที่ ประชาชนในพื้นที่รับรู้และร่วมเป็น เจ้าของสถานพยาบาลของตนมากขึ้นเรื่อยๆ

“ งานนโยบายจากส่วนกลาง “การสร้างการมีส่วนร่วม ที่เน้นการบริการที่ครบถ้วน” ต้องคำนึงถึง “การสร้างการมีส่วนร่วม และเน้นความเข้มแข็งของผู้คน”

รัฐบาลใดในโลกที่ตอบโจทย์สำคัญ ของชีวิตผู้คนได้ทุกพื้นที่ ไม่มี รัฐบาลใดในโลกที่ตอบโจทย์สำคัญ ของชีวิตผู้คนได้ทุกพื้นที่ เราเองแม้จะอยู่ในพื้นที่อย่างยาวนาน ก็ใช่ว่า จะเข้าใจผู้คนและวิถีชีวิตอย่างถ่องแท้

มีแสงสว่างแล้วก็จางหายไปเหมือนแสงพลุ การระดม รณรงค์การมีส่วนร่วมเป็นครั้งคราว คล้ายกับการจุดพลุที่สว่างไสว ซึ่งคาดหวังให้ผู้คนได้เข้าถึงแสงสว่างในยามค่ำ ลองนึกถึงประสบการณ์ที่ผ่านมา กองทุนยา ศสมช. การเต้นแอโรบิก และอีกหลากหลาย ที่ลงทุนลงแรงอย่างมากมาย และแล้วก็สูญหายไป มีแสงสว่างแล้วก็จางหายไปเหมือนแสงพลุ

ลองคิดดูใหม่อีกสักครั้ง โครงการ/กิจกรรม ควรถูกนำเสนอ พร้อมข้อมูล ความจำเป็นต่อชีวิตผู้คน ให้พวกเขาได้ร่วมพิจารณา อย่างเข้าใจถึงความจำเป็น และเริ่มกันสานต่ออย่างมีส่วนร่วม แบบค่อยเป็นค่อยไปด้วยบริบท ทุนสังคม

เมื่อแสงเทียนเล่มน้อยถูกจุดจากมือพวกเขา พวกเขาจะการประคับประคอง แสงสว่างดวงน้อยๆนั้นไว้อย่างทนุถนอม เมื่อผู้คนเห็นความประโยชน์ ก็จะจุดต่อแสงเทียนจากทีละบ้าน ทีละหมู่ ชุมชนย่อมมีความสว่างไสวมากขึ้นๆ เกิดการเรียนรู้และพัฒนาที่ยั่งยืนยาวนาน ตราบเท่าที่สิ่งนั้นยังมีประโยชน์อยู่

มักจะเดินคนละเส้นทางกับ ปีปฏิทินปีงบประมาณ งบประมาณเร่งรัด ขอบเขตที่จำกัด กำลังคนเหมือนจะไม่พออยู่เสมอ มักจะเดินคนละเส้นทางกับ การสร้างการมีส่วนร่วมที่แท้จริง ของประชาชน

“ เวลาราษฎร บริบท ทุนสังคม และ พลังประชาคม” คงไม่ผิดที่เราซึ่งอยู่ในระบบราชการ จำเป็นต้องอยู่ภายใต้กรอบกำหนดที่คุ้นเคย “ เวลาราชการ นโยบาย งบประมาณ กำลังคน” แต่ภายใต้ความเป็นจริงที่ว่า การสร้างการมีส่วนร่วมที่แท้จริงของประชาชนจนประสบความสำเร็จ มักจะอ้างอิงสิ่งที่แตกต่าง “ เวลาราษฎร บริบท ทุนสังคม และ พลังประชาคม”

การสร้างเสริมสุขภาพที่แท้จริง ” “ เป้าหมาย การสร้างเสริมสุขภาพที่แท้จริง ” ต้องมีมากกว่า “กิจกรรมบริการส่งเสริมป้องกัน ความครบถ้วนและสิทธิการเข้าถึง”

“เพิ่มพลังอำนาจ จนตระหนักและเข้าใจ พวกเรามักคิดว่าบรรลุถึงเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ โดยเน้นการเข้าถึงกิจกรรมการบริการด้านการรักษาส่งเสริมป้องกันฟื้นฟูที่ค่อนข้างครบถ้วนต่อเนื่อง “ทำให้ ทำเสร็จ ทำครบ เร็วและถูกหลักวิชา” ถ้าสำเร็จจริงทำไมคนป่วยจากโรคง่ายๆ โรคป้องกันได้ หรือแม้แต่โรคเรื้อรังยังคงเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง หรือที่ผ่านมาเรา มองข้ามเป้าหมายที่แท้จริง “เพิ่มพลังอำนาจ จนตระหนักและเข้าใจ จนผู้คนทำได้ อยากทำ ทำเป็น”

พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ค่านิยมเสี่ยงจำนวนหนึ่ง กลายเป็นวัฒนธรรมประจำถิ่น พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ค่านิยมเสี่ยงจำนวนหนึ่ง กลายเป็นวัฒนธรรมประจำถิ่น ในผู้คนและชุมชน ย่อมไม่สามารถถูกปรับเปลี่ยนได้อย่างง่ายดายรวดเร็ว ด้วยการสอน การรณรงค์ ชี้นำ เข้าไปทำให้ครั้งสองครั้ง โดยเน้นครอบคลุมครบถ้วน หรือการสร้างกระแสความตื่นกลัวในวงกว้างชั่วครั้งชั่วคราว

แต่ต้องสร้างผ่าน กระบวนการเพิ่มพลังอำนาจในลักษณะ หุ้นส่วนสุขภาพร่วมเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมเติมเต็มกันและกันอย่างค่อยเป็นค่อยไป จนถึงจุดที่เกิดความตระหนักเกิดการเปลี่ยนแปลงในผู้คน ชุมชน ทีละน้อย นั่นคือจุดเริ่มต้นของความสำเร็จที่คาดหวัง

“ ค้นคิด ชี้นำ จัดตั้ง เอื้ออาทร ” ไม่จีรังเท่ากับ “ ร่วมคิด ร่วมทำ เป็นหุ้นส่วนสุขภาพ และเพิ่มพลังอำนาจ ”

การดำเนินการส่วนใหญ่ บุคลากรสาธารณสุข ทำงานหนัก ค้นคิดปรับ เปลี่ยนต่อเนื่อง และลงไปมีส่วนกับวิถีชีวิตของประชาชนอย่างมาก เกิดความสำเร็จเชิงปริมาณ ครอบคลุมทั้งการรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู การดำเนินการส่วนใหญ่ จึงมาจากมุมมองความคิดจากด้านของเราออกไป ภายใต้การจัดการและชี้นำจัดตั้งอย่างต่อเนื่อง

“ เรารู้มากแต่ไม่เก่งจริง เราจะเก่งจริงก็ต่อเมื่อ เราสามารถสนับสนุนให้ ประชาชนรอบข้างเรา คิดเองได้ ทำเองได้ และเก่งขึ้นเรื่อยๆ ”

กลับจะถูกแซ่ซ้องสรรเสริญ ว่ามีวิสัยทัศน์กว้างไกล สักวัน เมื่อประชาชนเข้มแข็ง จัดการสุขภาพเองได้งาน Work For People ของเราลดลงจนแทบไม่เหลือ วันนั้นคือ หัวใจแห่งความสำเร็จที่แท้จริง ณ วันนั้นเรานอกจากจะไม่เสียความน่าเชื่อถือ กลับจะถูกแซ่ซ้องสรรเสริญ ว่ามีวิสัยทัศน์กว้างไกล และวางใจว่า เราชาวสาธารณสุขเชื่อมั่นในศักยภาพผู้คน ความฝันนั้นไม่ง่ายที่จะไปถึงและได้อย่างสมบูรณ์แบบ แต่เราก็น่าจะต้องลองคิด ลองทำ ให้ได้มากที่สุด

นวัตกรรมจากภาคประชาชนจำนวนมาก จึงถูกสร้างเพื่อตอบโจทย์แนวคิดของเรา การทำประชาคมบางครั้งเพื่อเปิดโอกาสรับฟังความคิดเห็น แต่ก็มักจำกัดอยู่ในส่วนที่อยู่ในกรอบที่เราคาดหวังตั้งเป้าไว้แล้ว นวัตกรรมจากภาคประชาชนจำนวนมาก จึงถูกสร้างเพื่อตอบโจทย์แนวคิดของเรา มากกว่าที่จะเกิดจากบริบทของเขาโดยแท้

สองแนวคิดของการพัฒนา เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสนองนโยบาย มองตามคำสั่ง (แคบ / ตื้น) ให้เสร็จ ได้ผลตามแผน เห็นแต่ปัญหา รวมศูนย์จากภายนอก อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ มองกว้าง เข้าใจบริบท เชื่อมั่นศักยภาพผู้คน เป็นหุ้นส่วนสุขภาพ มุ่งที่กระบวนการ การเสริมสร้างพลังจากภายในผู้คน ให้ยิ่งทำความสามารถของผู้คนยิ่งเพิ่มขึ้น ผสมผสาน ชุมชนเปลี่ยนแปลง เกิดจิตสำนึก พึ่งตนเองได้ คุณภาพชีวิตดี สุขภาพดี เน้นกระบวนการ ให้ความสำคัญกับ การสื่อสารสองทาง เน้นผลงาน ไม่สนใจกระบวนการ

การบริการที่มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 1. เน้นคุณค่า : ผู้ป่วย ความต้องการ ความพอใจ ร่วมตัดสินใจ 2. คำนึงถึง สิทธิ ศักดิ์ศรี และความเป็นมนุษย์ 3. ร่วมมือการดูแลแบบองค์รวม อย่างมีวิชาการผสมผสานทุก ระดับบริการ 4. การให้ข้อมูลสื่อสารและความรู้ เน้นเพิ่มพลังอำนาจ 5. สุขสบายทางกาย สุขสบายอารมณ์ ลดความกลัว / วิตกกังวล 6. เข้าใจความต้องการของครอบครัวและผู้ใกล้ชิด 7. การส่งต่อผู้ป่วย ต้องได้รับการดูแลการรักษาพยาบาล ต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย

สสส. สปสช ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ภาคประชาชน HA สสส. สปสช ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์จากกระบวนการพัฒนาคุณภาพสถานบริการ โครงการ สภาพยาบาล ประชาคม และ องค์กรท้องถิ่น ด้านสิทธิ / ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ / ด้านความปลอดภัย / ด้านการดูแลผู้ป่วย / ด้านทรัพยากรบุคคล / ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ / ด้านการมีส่วนร่วม / อื่นๆ ศูนย์ส่งเสริม มิตรภาพบำบัด จิตอาสา ศูนย์ องค์รวม ธรรมาภิบาล การกำกับดูแล กฎหมาย NGOและหน่วยอื่นๆ PCA. การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง / นัดหมาย / ส่งต่อ การสร้างเสริมสุขภาพทุกขั้นตอน หน่วยบริการ ปฐมภูมิ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ภาคประชาชน หายป่วย ป่วยซ้ำ ป่วยรุนแรง ป่วยเรื้อรัง เรื้อรังรุนแรง ระยะสุดท้าย สิ้นหวัง เข้าไม่ถึงบริการ ถูกทอดทิ้ง ปัญหาทางสังคม อื่นๆ การวางแผน กลยุทธ์ เชื่อมโยงระบบงานสำคัญ กระบวนการดูแลผู้ป่วย ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน ครอบครัว ดูแลตนเองได้ตามสมควร สร้างเสริมนำการรักษา พึ่งพาสถานบริการลดลง คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้น ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเข้มแข็งและเกื้อกูล ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีราคาแพง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและทุนสังคม เศรษฐกิจพอเพียง สังคมผาสุก การนำ ชุมชน / ท้องถิ่น การมุ่งเน้น ผู้ป่วยและ สิทธิผู้ป่วย วัด / องค์กรศาสนา การบริการตามเกณฑ์ PP การบริการตามงานนโยบาย การสนับสนุนการดูแลต่อเนี่อง การเยี่ยมผู้ป่วย ครอบครัว การเฝ้าระวังโรคติดต่อ / ไม่ติดต่อ การเป็นหุ้นส่วนสุขภาพ หน่วยบริการอื่นๆ การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ การบริการด้วยหัวใจ ของความเป็นมนุษย์ โครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการคุณภาพ ที่มีประชาชนและผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางต่างๆ ที่ถูกพัฒนาขึ้นบนฐานคิดที่มาจากมุมมองเชิงระบบ และเป็นองค์รวม เน้นการมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งของปรชาชน ชุมชน อย่างยั่งยืน กรอบแนวคิดโครงการโดย วราวุธ สุรพฤกษ์

“ สวัสดี ”