ในระหว่างวันที่ 1-4 พฤศจิกายน 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รุ่นที่ 2/57 ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
Workshop Introduction
1.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ผลการดำเนินงานด้านลดน้ำสูญเสีย
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
ขดลวดพยุงสายยาง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ในระหว่างวันที่ 1-4 พฤศจิกายน 2554 การสำรวจเตรียมความพร้อมเข้าสู่ WSP ร่วมกับ K-water กรณี กปภ.สาขาสุราษฏร์ธานี ในระหว่างวันที่ 1-4 พฤศจิกายน 2554 K-Water ทีมงานวิศวกร ส่วนกลาง สนง.ใหญ่ กปภ. นักวิทยาศาสตร์จาก กคน. กปภ.ข. ผอ.กปภ.ข นักวิทยาศาสตร์ และวิศวกร จาก กผว. กรค.กรจ. กปภ.สาขา ผจก.กปภ.สาขา หนง.ผลิต พนักงานผลิต กองแผนและวิชาการ กองระบบผลิตและควบคุมคุณภาพน้ำ กองระบบจำหน่าย

การดำเนินงานของ K-water ปรับปรุงคุณภาพน้ำประปา ความขุ่น 1.0 NTU เป้าหมาย : กลยุทธ์ : ปรับปรุงโรงกรองน้ำกม.5 การสำรวจ กระบวนการผลิต-จ่ายน้ำคุณภาพน้ำ เครื่องจักรกลเครื่องมือ อุปกรณ์และอื่นๆ เสนอแผนปฎิบัติการ การปรับปรุง โรงกรองน้ำ กม. 5 ตามลำดับความสำคัญ ขยายผลไปยัง กปภ.สาขา หรือ โรงกรองน้ำอื่น ขั้นตอน

ผังระบบผลิตน้ำประปา โรงกรองน้ำ กม.5 กปภ.สาขาสุราษฏร์ธานี สารส้ม 1,600 m3/hr.  800 mm. Mixing basin (Cone) Flocculation basin Sedimentation basin แหล่งน้ำ คลองพุมดวง Filter beds (10)  150 mm. reuse backwash water pond Sludge lagoon สารส้ม 500 m3/hr.  600 mm. แหล่งน้ำ แม่น้ำตาปี คลองพุมดวงรับน้ำจากเขื่อนรัชประภา เหนือคลองขึ้นไปมีโรงงานเหล้า และน้ำอัดลม ในช่วงหน้าแล้งประสบปัญหาสาหร่าย เน่าเสีย บริเวณเหนือแม่น้ำตาปีมีโรงงานปลากระป๋อง ปลาแช่แข็ง เลี้ยงปลากระวัง Mixing basin (Static Mixer) Flocculation basin Sedimentation basin Filter beds (8) คลอรีน Elevated tank (Khuan Ta Kub) 5,500 m3 (2) Clear water reservoir 3,000 m3 (2) น.กาญจนดิษฐ์ High lift pumping station

การดำเนินงานประเมินประสิทธิภาพในระบบผลิต โดย K-water 1 คุณภาพน้ำในระบบผลิต 9 ระบบกำจัดการรั่วไหลของคลอรีน 2 การสร้างตะกอน 10 อัตราการไหลของน้ำดิบ 3 ระบบกวนเร็ว 11 อัตราการจ่ายสารเคมี 4 ระบบกวนช้า 12 เครื่องสูบน้ำ 5 ระบบถังตกตะกอน 13 ระบบไฟฟ้ากำลัง 6 ปริมาณและวิธีการกำจัดตะกอน 14 หม้อแปลงไฟฟ้า 7 ถังกรอง 15 ระบบ SCADA 8 การฆ่าเชื้อโรค 16 การจัดการ Mobile Plant

1. การตรวจสอบคุณภาพน้ำในระบบผลิต จุดเก็บตัวอย่าง ความขุ่น (NTU) คลอรีนคงเหลือ (มก./ล.) มาตรฐานน้ำประปา ความขุ่น(NTU) กปภ. k-Water น้ำคลองพุมดวง 97 0.05 - น้ำก่อนกรอง 4.5 0.04 10 1 น้ำกรองแล้ว 1.2 1.77 5 การเติมคลอรีนในน้ำดิบ ควรให้มีคลอรีนคงเหลือ ไม่มากกว่า 0.5 มก./ล.

1. การตรวจสอบคุณภาพน้ำในระบบผลิต เพื่อควบคุมการตกตะกอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้น้ำก่อนเข้าถังกรองมีความขุ่นต่ำ โดยตั้งเป้าหมายให้ลดจาก 10 NTU ให้เหลือ 2.0 NTU เพื่อให้น้ำกรองแล้วมีความขุ่นต่ำลง และการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีนมีประสิทธิภาพโดยจะลดความเสี่ยงจากการปนเปื้อนสิ่งสกปรก ไม่ก่อให้เกิดสารก่อมะเร็ง (DBPs)ในน้ำ

2. การตรวจสอบประสิทธิภาพการสร้างตะกอน ความขุ่น pH ความเป็นด่าง สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ ระบบ กวนเร็ว 2) คุณภาพน้ำ 3) ระบบ/ออกแบบ 1) สารเคมี ระยะเวลา G value แบบใบพัด ขนาด ถังกวนเร็ว ปริมาณ ชนิด อุณหภูมิ

ปรับปรุงลำดับการเติมสารเคมี 2. การตรวจสอบประสิทธิภาพการสร้างตะกอน ปรับปรุงลำดับการเติมสารเคมี - การเติมคลอรีนในน้ำดิบ(Pre Chlorination) ก่อนการเติมผงถ่านกัมมันต์ จะทำให้คลอรีนมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโรคลดลง และบางช่วงฤดู (ฤดูฝน) น้ำดิบมีค่าความเป็นด่าง (Alkalinity) ต่ำ จึงจำเป็นจะต้องเติมโซดาแอชในน้ำดิบเพื่อปรับค่าความเป็นด่างให้สูงขึ้น ซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพการเกิดตะกอนสมบูรณ์ขึ้น

2. การตรวจสอบประสิทธิภาพการสร้างตะกอน การหาชนิดและปริมาณสารเคมี ผลจาร์เทสต์ ปริมาณสารส้มที่เหมาะสม 35 มก./ล. โรงกรองกม.5 ใช้สารส้ม 20 มก./ล. จึงได้ปรับให้เพิ่มขึ้นเป็น 35 มก./ล. ปรากฏว่า ฟล็อกในถังกวนช้ามีขนาดใหญ่กว่าเดิม ซึ่งหมายถึงการสมาน/รวมตะกอนเกิดอย่างสมบูรณ์

3. การตรวจสอบประสิทธิภาพในระบบกวนเร็ว ค่าG (Velocity Gradient) สูตร G = 2,500 ( H/t ) 1/2 เมื่อ G = G- value (sec)-1 H = Hydraulic loss (m.) t = retention time (sec) ปริมาตรของถังกวนเร็ว กxยxส = 3 m x 1m x 5m ค่า G ตาม criteria design ควรอยู่ในช่วง 400 – 700 sec-1

3. การตรวจสอบประสิทธิภาพในระบบกวนเร็ว ค่าG (Velocity Gradient) รายการ ก่อนปรับ Cone Mixing หลังปรับ Cone Mixing Hydraulic loss ,H (cm.) 25 75 G (sec-1) 240 410 Turbidity (NTU) 4.75 2.65 Remark : ค่า G ตาม criteria design ควรอยู่ในช่วง 400 – 700 sec-1

ปรับ Hydraulic loss ให้สูงขึ้นในระบบกวนเร็ว 3. การตรวจสอบประสิทธิภาพในระบบกวนเร็ว ค่าG (Velocity Gradient) ปรับ Hydraulic loss ให้สูงขึ้นในระบบกวนเร็ว บริเวณรางจ่ายสารส้มอุดตัน 75 cm. 25 cm. ก่อนปรับระดับการเปิด Mixing Cone หลังปรับระดับการเปิด Mixing Cone การกวนเร็วเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากในระบบผลิตน้ำประปา ทำให้สารเคมีที่เติมลงในน้ำดิบกระจายและทำปฏิกิริยาได้อย่างทั่วถึง รวดเร็ว จนเกิดการสร้างตะกอน (Coagulation) ขึ้น รูบริเวณรางจ่ายสารส้มอุดตัน ในช่วงกวนเร็ว พบว่า รางจ่ายสารสะสายสารส้มอุดตัน ทำให้การกระจายสารเคมีไม่ทั่วถึง น้ำดิบและสารเคมีเกิดการผสมกันได้น้อย ความปั่นป่วนในระบบค่อนข้างต่ำ และได้ปรับการกวนเร็วโดยเปิด mixing cone เพื่อเพิ่มระดับการไหลของน้ำให้สูงขึ้น หรือมี Hydraulic loss สูงขึ้น หลังจากการเปิดระบบ Mixing Cone โดยทำให้ Hydraulic loss(H) เพิ่มจาก 25 เป็น75 ซม.พบว่าค่าความขุ่นของน้ำก่อนกรองลดลง เนื่องจากความปั่นป่วนของน้ำ (G) เพิ่มขึ้น ทำให้กระบวนการ coagulation เกิดได้อย่างดี

ปรับปรุงรางจ่ายสารเคมีให้จ่ายได้อย่างทั่วถึง 3. การตรวจสอบประสิทธิภาพในระบบกวนเร็ว ปรับปรุงรางจ่ายสารเคมีให้จ่ายได้อย่างทั่วถึง จุดจ่ายสารส้มเดิม ควรปรับปรุงเป็นแบบเวียร์ บริเวณจ่ายสารเส้มไม่ได้ บริเวณจ่าย สารส้มได้

4.การตรวจสอบประสิทธิภาพระบบกวนช้า หาค่า G

4. การตรวจสอบประสิทธิภาพในระบบกวนช้า หาค่า G

การนำค่าG หาความเร็วรอบในการกวนของเครื่องจาร์เทสต์

5.การตรวจสอบ Hydraulic loading Rate ในถังตกตะกอน

6. การตรวจสอบปริมาณและวิธีการกำจัดตะกอนในระบบผลิต S : ปริมาณสารทั้งหมด (ตัน/วัน) Q : อัตราการไหลน้ำดิบ (ลบ.ม./ วัน) T : ความขุ่นน้ำดิบเฉลี่ย (NTU) E1 : ss/NTU coef. C: ปริมาณสารส้ม (มก./ล.) E2 : The coef. Of Alum

6. การตรวจสอบปริมาณและวิธีการกำจัดตะกอนในระบบผลิต ปริมาณตะกอนแห้ง 10.6 ตัน ประกอบด้วยน้ำเ99.5 % คำนวณเป็นปริมาณสารละลายตะกอน 212 ลบ.ม./วัน หากไม่ระบายตะกอนออก จะสะสมอยู่ในพื้นที่ 50%ของถังตกตะกอน ภายใน2-3 สัปดาห์ ในถังตกตะกอนเกิดตะกอนฟุ้ง ก่อนเข้าระบบกรอง หลังจากปรับระดับ mixing cone ซึ่งเกิดจากน้ำไหลผ่านถังตกตะกอนเร็วขึ้น ควรเร่งซ่อมแซมเครื่องกวาดตะกอนโดย ควรมีระบบกำจัดตะกอน เช่น Sludge Drying Bed หรือใช้เครื่องจักรกล (Belt Press , Filter Press เป็นต้น )

7. การตรวจสอบประเมินประสิทธิภาพในถังกรอง ในถังตกตะกอนเกิดตะกอนฟุ้ง ก่อนเข้าระบบกรอง หลังจากปรับระดับ mixing cone ซึ่งเกิดจากน้ำไหลผ่านถังตกตะกอนเร็วขึ้น ระบบกรองที่ดี ควรกำจัด ความขุ่นได้ 90% หลังล้างระบบกรอง ตะกอนเหลือในสารกรอง < 10%

7. การตรวจสอบประเมินประสิทธิภาพในถังกรอง ชนิดตัวอย่างน้ำ/รายการทดสอบ Max Min Average -Turbidity (NTU) - pH 1,200 7.69 23.0 6.70 72.0 7.08 -pH 4.21 6.57 1.70 6.52 2.9 6.53 -Res. Chlorine (mg/L) 3.70 7.60 1.33 0.71 6.85 1.00 2.75 7.07 1.15 น้ำดิบ น้ำ ก่อนกรอง น้ำประปา ความขุ่นของน้ำก่อนและหลังผ่านระบบกรอง = 2.9 และ 2.75 NTU แสดงว่าถังกรองกำจัดความขุ่นได้ 5% สาเหตุ ?? ระบบการกรองที่ใช้งานได้ดี ต้องกำจัดความขุ่นออกได้ 90%

7. การตรวจสอบประเมินประสิทธิภาพในถังกรอง ทดสอบตะกอนสะสม (SRA-Sludge Retention Analysis) ในสารกรอง ทดสอบความขุ่นในน้ำขณะBackwash ถังกรอง เก็บตัวอย่างน้ำ ทุก 30 วินาที

7. การตรวจสอบประเมินประสิทธิภาพในถังกรอง หาตะกอนสะสม (SRA-Sludge Retention Analysis) ในทรายกรอง เก็บตัวอย่างทรายกรอง ทุก 10 ซม. ทราย+น้ำ+กวน 30 นาที วัดค่าความขุ่น

7. การตรวจสอบประเมินประสิทธิภาพในถังกรอง ทดสอบความขุ่นในน้ำขณะBackwash ถังกรอง เก็บตัวอย่างน้ำ ทุก 30 วินาที เก็บตัวอย่างน้ำขณะBackwash ทุก 30 วินาที วัดความขุ่นในตัวอย่างน้ำ

7. การตรวจสอบประเมินประสิทธิภาพในถังกรอง

7. การตรวจสอบประเมินประสิทธิภาพในถังกรอง ปรับปรุงระบบล้างหน้าทรายกรอง ตักโคลนบนทรายออกและเพิ่มชั้นทราย

8. การตรวจสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อโรค Procedure Unit Method Volume of Clear L × W × H m3 well (V) (Worst case = daily lowest level) Retention Min V ÷Q max (hr) ×60 (min/hr) time(T) Tracer test (using Fluorine) T10/T (B) Rule of thumb : 0~1 CT measured mg/L min T × B × C CT mg/L min USEPA GUIDANCE MANUAL(1989) required Ratio of CT - CT measured ÷ CT required (=Safety Value) Evaluation Safety Value > 1

8. การตรวจสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อโรค ○สิ่งจำเป็นสำหรับการฆ่าเชื้อโรคคือน้ำกรองแล้วต้องมีความขุ่นต่ำ ปัจจัยที่มีผลต่อการฆ่าเชื้อโรค : : pH, อุณหภูมิ, residual chlorine ,อัตราการไหล, ระดับน้ำ การเพิ่ม Baffle Wall ในถังน้ำใส Baffle Wall

9. ตรวจสอบระบบกำจัดการรั่วไหลของกาซคลอรีน ไม่มีโซดาไฟอยู่ในถัง Cl2 + 2NaOH ↔ NaOCl + NaCl + H2O ไม่มีโซดาไฟอยู่ในถัง (20%)

10. การตรวจสอบอัตราการไหลของน้ำดิบ เหตุผล อัตราการไหลของน้ำดิบเป็นปัจจัยพื้นฐานในระบบประปาอัตราการไหลมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาในระบบประปาทั้งหมด ตรวจสอบอัตราการไหลของน้ำดิบ จุดที่ 1 จุดที่ 2 (㎥/hr) 2,064 2,000 จุดตรวจสอบ

11. การตรวจสอบอัตราการจ่ายสารเคมี อัตราการจ่ายสารเคมี เป็นสิ่งที่สำคัญในกระบวนการผลิตน้ำ จึงจำเป็นต้องมีการตรวจสอบอัตราการจ่ายของสารเคมี ตารางอ้างอิง การวัดอัตราจ่ายสารส้มเครื่องที่ 2 Stroke Q Time Dozing rate Table 1200 (%) (ℓ) (sec) (ℓ/hr) (ℓ/hr) 1000 43 5 28.91 800 579 526 5 28.34 600 60 5 23.58 400 측정값 769 745 조견표 5 23.24 200 80 5 17.82 1,010 1,005 43 60 80 5 17.40 펌프 Stroke(%) อัตราการไหลที่ทดสอบได้อยู่ใน เกณฑ์ ดี: มีความคลาดเคลื่อนต่ำกว่า 10% เมื่อเทียบกับตารางอ้างอิง 39

12. การตรวจสอบประสิทธิภาพเครื่องสูบน้ำ เครื่องสูบน้ำแรงสูง กม. 5 เหตุผล การสั่นสะเทือนเป็นสิ่งสำคัญในการตรวจสอบสภาพเครื่องสูบน้ำประปาเพื่อการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน เครื่องสูบน้ำแรงสูง กม. 5 Motor ① Motor ② Pump ③ Pump ④ Result Pump Ver. Hor. Ver. Hor. Ver. Hor. Ver. Hor. (ISO10816-7) #2 11.8 26.7 5.8 30.9 7.2 13.7 6.2 15.8 D ใช้ไม่ได้ #3 14.4 21.2 6.4 13.7 7.2 6.4 3.8 2.5 D ใช้ไม่ได้ #4 14.1 27.9 11.2 20.9 7.8 16.9 3.3 3.9 D ใช้ไม่ได้ ④ ③ ② ① Check point Ⓐ แนวดิ่ง (V) Ⓑ แนวราบ (H) Ⓒ แนวเพลา (A)

12. การตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ มาตรฐาน ISO 10816

12. การตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ ข้อเสนอแนะ ตรวจสอบแนวเพลาเครื่องสูบน้ำ

12. การตรวจสอบประสิทธิภาพเครื่องสูบน้ำ การเตรียมอะไหล่ ปั๊ม & มอเตอร์ เงื่อนไขการตรวจสอบปั๊ม การเตรียมอะไหล่ ปั๊ม & มอเตอร์ - ประสิทธิภาพ ปั๊ม & มอเตอร์ ในกรณีที่ปั๊มมีปัญหา - การสั่นสะเทือน ปั๊ม & มอเตอร์

12. การตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ การเลือกปั๊มที่มีประสิทธิภาพ - พิจารณาจาก แรงดัน อัตราการสูบ กะแสไฟฟ้า

13. การตรวจสอบระบบไฟฟ้ากำลัง โดยเปรียบเทียบจากอุณหภูมิแตกต่างของไฟฟ้า 3 เฟส เป็นวิธีที่ดีที่สุดเพื่อป้องกันก่อนที่อุบัติเหตุจะเกิดขึ้น อุณหภูมิแตกต่าง ผลสรุป ต่ำกว่า 5 ℃ ดี ระหว่าง 5℃ - 10 ℃ ไม่ดี เกิน 10℃ ใช้ไม่ได้

13. การตรวจสอบระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องถ่ายภาพวัดความร้อน ภาพความร้อน ภาพจริง

13. การตรวจสอบระบบไฟฟ้ากำลัง ภาพความร้อน ภาพจริง R S T แผงสวิทช์มอเตอร์ #4 ใช้ไม่ได้ ความร้อน 42.5 43.7 56.1 สรุป การเชื่อมต่อไม่ดีหรือผิดปกติ

13. การตรวจสอบระบบไฟฟ้ากำลัง ภาพความร้อน ภาพจริง R S T ฟิวส์เสาไฟฟ้า ใช้ไม่ได้ ความร้อน 54.0 43.4 46.2 สรุป การเชื่อมต่อไม่ดีหรือผิดปกติ

13. การตรวจสอบระบบไฟฟ้ากำลัง ภาพความร้อน ภาพจริง P1 P2 P3 P4 สวิทช์ เบรกเกอร์ ความร้อน 28.6 30.1 32.6 90.2 สรุป ใช้ไม่ได้

13. การตรวจสอบระบบไฟฟ้ากำลัง Before After เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด แสดงผลอุณหภูมิที่วัดได้ ตรวจสอบหา ขั้วต่อสายไฟที่ถูกต้องเหมาะสม ความร้อนที่เกิดจากขั้วต่อสายไฟที่ไม่เหมาะสม

14. การตรวจสอบหม้อแปลงไฟฟ้า ผลการตรวจสอบ น้ำมันเปลี่ยนสี เปลี่ยนกรองน้ำมัน น่ำมันแห้ง เติมน้ำมันในถ้วย

15. การตรวจสอบจากระบบ SCADA U-SCADA system ระดับ วาล์ว กระแสไฟ อุณหภูมิ แรงดัน คาดการณ์แรงดันน้ำ รายงานกระบวนการกรองน้ำ โรงสูบแรงต่ำ แสดงข้อมูล Real Time การวิเคราะห์ประวัติการเกิดอุบัติเหตุ - อุณหภูมิ แรงดัน การใช้ไฟฟ้า การตรวจจับเหตุที่เกิดขึ้น การเพิ่มประสิทธิภาพ - แจ้งเตือนไปยังพนักงาน ระบบการควบคุมอัตโนมัติ เช่น ความร้อน ไฟดับ เช่นการเดินปั๊ม การล้างกรอง

16.การพิจารณาการจัดการ Mobile Plant ความขุ่นของน้ำดิบเฉลี่ย 10 NTU ความขุ่นของน้ำดิบสูงสุดไม่เกิน 1,000 NTU ความขุ่น อุณหภูมิและ อัตราการไหลต้องไม่แปรเปลี่ยนมาก

สิ่งที่จะต้องดำเนินการต่อไป.... รวบรวมประเด็นปัญหา วิเคราะห์หาแนวทางแก้ไขทางในเลือกต่างๆ วิเคราะห์ปัญหา/ความเสี่ยง จัดลำดับความสำคัญ จัดทำรายละเอียดในประเด็นที่จะแก้ไข จัดทำแผนปฏิบัติการ เสนอขอรับการสนับสนุนในด้านต่างๆ

Q & A