งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รุ่นที่ 2/57 ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รุ่นที่ 2/57 ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รุ่นที่ 2/57 ระหว่างวันที่ 21-25 กรกฎาคม 2557
คณะทำงานกำหนดแนวทางและจัดทำแผนการพัฒนาระบบประปาเข้าสู่รูปแบบ WATER SAFETY PLAN รุ่นที่ 2/57 ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 1

2 สรุปปัญหา / แนวทางการดำเนินงาน สผ.ห้วยป่าแดง กปภ.สาขาเพชรบูรณ์
สรุปปัญหา / แนวทางการดำเนินงาน สผ.ห้วยป่าแดง กปภ.สาขาเพชรบูรณ์ กปภ.สาขาเพชรบูรณ์ รับน้ำดิบจากบริเวณก้นอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง โดยส่งน้ำดิบผ่านคลองส่งน้ำชลประทานไปยัง สระพักน้ำ โรงสูบน้ำแรงต่ำ ซึ่งมีปั๊มหอยโข่ง 3 ตัว เพื่อส่งน้ำไปยัง สผ. 2 แห่ง คือ ● สผ.ห้วยป่าแดง ห่างจากโรงสูบน้ำแรงต่ำ 1 กม มีกำลังผลิต 400 ลบ.ม./ชม. และสูบส่งน้ำไปยัง สผ.หนองนารี ห่างจากโรงสูบน้ำแรงต่ำ 8 กม. มี 2 โรงกรองกำลังผลิต 250 และ 80 ลบ.ม./ชม.

3 ปัญหา /ความเสี่ยง/สาเหตุ แนวทางแก้ไข
สรุปปัญหา / แนวทางการดำเนินงาน สผ.ห้วยป่าแดง กปภ.สาขาเพชรบูรณ์ ปัญหา /ความเสี่ยง/สาเหตุ แนวทางแก้ไข แหล่งน้ำ :อ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง - ความผันแปรของน้ำในอ่างเก็บน้ำตามช่วงฤดูกาลในรอบปีบางช่วงคุณภาพต่ำกว่าเกณฑ์ฯ สาเหตุ การถางป่าบริเวณต้นน้ำเพื่อทำเกษตรกรรมชะล้างหน้าดิน ตะกอนสะสมก้นอ่าง ความขุ่นสูงเดือนพ.ค. - ส.ค. เกิดสาหร่ายในฤดูแล้ง: Doต่ำเหล็กและมังกานีส สูง โดย กปภ.สาขาเพชรบูรณ์ รับน้ำจากก้นอ่างเก็บน้ำผ่านคลองส่งน้ำถึงจุดIntake ระยะทาง 1 กม. กำหนดมาตรการติดตามและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ เพื่อเป็นสถิติข้อมูลการวางแผนและจัดการต่อไป -ติดตั้งระบบอัตโนมัติเพื่อเตือนภัยที่จุดน้ำเข้าและระบายออกจากอ่างฯ เพื่อเตรียมการได้ทันโดยเฉพาะช่วงฤดูน้ำหลาก /เสื่อมโทรมลง -ประสานและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -เพิ่ม ระบบPretreatment :Pre- sedimentation, Aeration, Pre- Chlorination ในแต่ละช่วงเวลา / มีคลอรีนเหลือ พีพีเอ็ม

4 ปัญหา /ความเสี่ยง/สาเหตุ แนวทางแก้ไข
สรุปปัญหา / แนวทางการดำเนินงาน สผ.ห้วยป่าแดง กปภ.สาขาเพชรบูรณ์ ปัญหา /ความเสี่ยง/สาเหตุ แนวทางแก้ไข 2. เครื่องจ่าย/การควบคุมปริมาณสารเคมี -เครื่องจ่ายสารเคมีเก่าและประสิทธิภาพการใช้งานต่ำ อาจเกิดหยุดชะงักได้ -เครื่องจ่ายฯไม่สามารถสลับใช้งาน เพื่อตรวจสภาพตามแผน PM /ซ่อมบำรุง -ภาวะการขาดสารเคมีอย่างต่อเนื่อง/มีคุณภาพต่ำกว่าเกณฑ์กำหนด/การควบคุมความเข้มข้นและอัตราจ่ายที่แปรเปลี่ยนตามคุณภาพน้ำยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ -การเตรียมปูนขาวไม่ควรเกิน 0.1% เกิดอุดตันเครื่องจ่ายสารเคมีได้  - เก็บสถิติข้อมูลการจ่ายสารเคมี เพื่อใช้แก้ไขปัญหาได้อย่างทันกาล : ความขุ่น จาร์เทสต์ % เข้มข้นและอัตราการจ่าย -จัดหาเครื่องจ่ายสารเคมีให้เพียงพอ ดำเนินการตามแผนPM –ควรสำรองสารเคมี ช่วงฤดูน้ำหลาก/เกิดสาหร่าย - ประสานแผนความต้องการใช้งานและจัดส่งฯ ใกล้ชิด ปรับเปลี่ยนสารเคมี เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำให้เหมาะสม

5 ปัญหา /ความเสี่ยง/สาเหตุ
แนวทางแก้ไข - เครื่องจ่าย PACl 2 เครื่อง ไม่มี Back Pressure, Releasing Valve, Rotameter , Pressure Gage - สภาพผิวภายในถังหมักสึกกร่อนมาก - ระบบจ่ายคลอรีน : ไม่มีอุปกรณ์ : ตาชั่งคลอรีน Vaccuum Regulator, Rotameter, Pressure Guagครื่องตรวจวัดคลอรีนรั่ว พัดลมดูดอากาศชำรุด หีบนิรภัยไม่ได้เปิดฝาไว้พร้อมใช้งาน ไม่มีอุปกรณ์ความปลอดภัย ปริมาณจ่ายคลอรีนไม่ต่อเนื่อง ส่งผลต่อประสิทธิภาพ/เสี่ยงต่อผู้ปฏิบัติงาน ไม่มีเครื่องจ่ายฯ จึงต่อตรงจากถังคลอรีน - ท่อจ่าย Pre-chlorination อยู่เหนือผิวน้ำ การpost chlorine บนถังน้ำใส เกิดการฟุ้งของคลอรีน 3. ระบบผลิตและการจัดการผลิตน้ำเกินกำลังออกแบบ ทำให้ลัดวงจรในกระบวนผลิต - ติดตั้งอุปกรณ์ประกอบของเครื่องจ่ายสารเคมีให้ครบ เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจ่ายสารเคมี ซ่อมแซมผิวที่ชำรุด และเคลือบ Epoxy เพื่อยืดอายุการใช้งานของถัง จัดหาอุปกรณ์เครื่องจ่ายคลอรีนให้ครบถ้วนและอุปกรณ์ความปลอดภัย ทำแผนฝึกซ้อม -ทำคลอรีนดีมานด์ทุกระยะที่คุณภาพน้ำเปลี่ยนแปลง - ควรต่อท่อลงไปจ่ายใต้ผิวน้ำ /จ่ายในท่อนก่อนเข้าถังน้ำใส -ปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบผลิตวางแผนจัดการ ควบคุมระบบผลิต

6 ปัญหา /ความเสี่ยง/สาเหตุ
แนวทางแก้ไข 4.ระบบกวนเร็ว :pressure gauge หัว-ท้าย เสีย 5.ระบบตกตะกอนและการระบายตะกอน ตะกอนฟุ้งบริเวณปลายรางรับน้ำ ตะกอนปริมาณมากไต่ขึ้นมาผนังกระจายน้ำ ความเร็วผ่านรูเจาะเกินเกณฑ์ออกแบบ 0.80 เมตร/วท ม.) - ประตูน้ำระบายตะกอนไฟฟ้าชำรุด 6. ระบบกรองน้ำ -ระบบฉีดหน้าทรายมีจุดที่น้ำไม่กระจายตัวช่วงปลายถัง ผิวหน้าทราย เป็นคลื่น ประสิทธิภาพการกรองต่ำ -ประตูน้ำใส Motorized มิเตอร์วัดน้ำล้างย้อนประตูน้ำล้างหน้าทราย แกนทองเหลืองเกลียว ชำรุด - ประตูน้ำกรองทิ้ง พวงมาลัย ชำรุด 1 ตัว เมื่อล้างย้อนแล้วทราย ตกบริเวณมุมถัง -ทรายหมดสภาพใช้งาน น้ำมีความขุ่นยังไม่ได้เกณฑ์มาตรฐานอย่างสม่ำเสมอ - ซ่อมให้ใช้งานได้ ปรับปรุงระบบรางรับน้ำจากถังตกตะกอนให้เหมาะสมตามค่าการออกแบบ -ซ่อมหัวขับไฟฟ้า/เพิ่มความถี่การระบายตะกอนโดยพนักงานให้ความเหมาะสม - ปรับปรุงแก้ไข ซ่อมให้ใช้งานได้เพื่อให้ระบบกรองมีประสิทธิภาพ - เปลี่ยนทรายกรองใหม่โดยบำบัดทรายด้วยคลอรีนเข้มข้นและทิ้งไว้ 3-4 ชม.ทุกรอบ ระยะ 6 เดือน ตรวจสอบ /ติดตามผล ทรายเป็น Mn sand

7 ปัญหา /ความเสี่ยง/สาเหตุ
แนวทางแก้ไข 7.โรงสูบน้ำแรงสูง : หากเครื่องสูบน้ำชำรุด ระบบผลิตหยุดชะงักได้ ไม่มีเครื่องสำรอง -การหยุดจ่ายน้ำและการซ่อมท่อมีผลต่อคุณภาพน้ำในท่อ 9.คุณภาพน้ำขณะประเมินสำรวจวินิจฉัยฯ เป็นช่วงที่น้ำขุ่นสูง เปลี่ยนแปลงมากในรอบวันไม่สามารถควบคุมคุณภาพได้ต่อเนื่อง บางช่วงต่ำกว่ามาตรฐาน/มีข้อร้องเรียน/ผลิตเกินระบบ กระทบระบบกรอง มีผลต่อคุณภาพน้ำโดยรวม ปนเปื้อนด้านแบคทีเรีย น้ำมีสี ความขุ่นและ มังกานีสในน้ำสูง - จัดหาเครื่องฯสำรองไว่ใช้งาน -ควรมีข้อมูล : GIS,ซ่อมท่อ,การระบายตะกอน, แรงดันน้ำ,ข้อร้องเรียนกำหนดและควบคุมแรงดันให้ได้อย่างต่อเนื่องวางแผนระบายตะกอนอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะโซนพื้นที่ต่ำมีความถี่มากขึ้น -กำหนดแผนสุ่มตรวจคุณภาพน้ำและใช้สถิติข้อมูลประเมินผลอย่างต่อเนื่องทุกวันควบคุมปริมาณคลอรีนคงเหลือปลายท่อ

8 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt รุ่นที่ 2/57 ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google