เทคนิคการตรวจสอบกิจการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
ประเด็นร้อนที่สหกรณ์ต้องรู้ ....
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
น.ท.สุขสันต์ เหมศรี หน.ค่าใช้จ่าย กงต.กง.ทร. โทร 55562
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
โดย นางสุลัดดา บุญรักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แนวทางปฏิบัติการรายงานข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่ตรวจพบ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
SMS News Distribute Service
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการตรวจสอบกิจการ หลักสูตรผู้ตรวจสอบกิจการขั้นพื้นฐาน

เทคนิคและวิธีการตรวจสอบ การสังเกตการณ์ การคำนวณ การสอบถาม การวิเคราะห์เปรียบเทียบ การตรวจสอบการผ่านรายการ การตรวจนับ การตรวจสอบเอกสาร การหารายการผิดปกติ การยืนยันยอด

การสังเกตการณ์ การดูขั้นตอนหรือวิธีปฏิบัติงาน หรือสภาพที่เป็นจริง ให้เห็นด้วยตาตนเอง เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงที่เป็นอยู่  ปฏิบัติงานจริงของเจ้าหน้าที่/กรรมการ  การปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายใน  สินค้าเก่าล้าสมัย / เสื่อมสภาพ

การสอบถาม เป็นการหาข้อมูลจากบุคคลที่มีความรู้ทั้งภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้อง เพื่อทราบข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องที่สนับสนุนข้อมูลเดิม หรือเป็นข้อมูลใหม่ ซึ่งการสอบถามอาจด้วยวาจา หรือเป็นลายลักษณ์อักษร

การตรวจนับ เป็นการพิสูจน์ปริมาณและคุณภาพของสินทรัพย์ว่า  สินทรัพย์มีอยู่จริง  มีปริมาณที่นับเท่าใด  สภาพของสิ่งของที่ตรวจนับ  การเก็บรักษาสินทรัพย์

การตรวจสอบเอกสาร การตรวจบันทึกทางบัญชีและเอกสารต่าง ๆ ที่บันทึกไว้ในสมุดบัญชีตรวจสอบกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์

สิ่งที่ต้องระมัดระวัง เอกสารแท้ไม่มีการปลอมหรือแก้ไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสหกรณ์ มีการอนุมัติเอกสารใบสำคัญตามระเบียบปฏิบัติโดยผู้มีอำนาจ ได้มีการลงบัญชีถูกต้องตามประเภทบัญชี มีการได้รับสิ่งของหรือบริการโดยถูกต้องแล้ว

การยืนยันยอด การขอคำยืนยันยอด เป็นการขอคำตอบสำหรับข้อสอบถาม โดยเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อยืนยันข้อมูลที่มีอยู่ใน การบันทึกบัญชี และพิสูจน์ความมีอยู่จริง โดยยืนยันเป็น ลายลักษณ์อักษรมายังผู้สอบบัญชีโดยตรง เช่น การยืนยัน ยอดเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ หรือสินทรัพย์ ที่อยู่ในครอบครองของผู้อื่น เจ้าหนี้ เป็นต้น

การคำนวณ การตรวจสอบความถูกต้องของตัวเลขในเชิงคำนวณในเอกสารเบื้องต้นและบันทึกทางการบัญชี เช่น การรับฝากเงิน ใบสำคัญรับ xxx ใบส่งเงินฝาก xxx การทดสอบการคำนวณโดยอิสระของผู้ตรวจสอบกิจการ เช่น ทดสอบการคำนวณดอกเบี้ย เป็นต้น

การวิเคราะห์เปรียบเทียบ วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินจากความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกันระหว่างข้อมูลทั้งทางการเงินและข้อมูลอื่น ที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน รวมทั้งตรวจสอบผลของการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลต่าง ๆ ว่าเป็นไปตามที่คาดหมาย หรือเป็นไปตามที่ควรจะเป็นหรือไม่

วิธีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ 1. เปรียบเทียบข้อมูลของงวดปัจจุบันกับงวดก่อน 2. ผลที่คาดการณ์ไว้ เช่น เปรียบเทียบข้อมูลของงวดปัจจุบัน กับงบประมาณ หรือประมาณการต่าง ๆ 3. ข้อมูลของสหกรณ์อื่นที่อยู่ในประเภทและขนาดสหกรณ์เดียวกัน

การเปรียบเทียบยอดค่าใช้จ่าย ปี 25x2 ค่าซ่อมแซม 50,000 ค่าเครื่องเขียน 40,000 ค่าพาหนะ 39,000 ปี 25x1 - 45,000 36,000 เปลี่ยนแปลง 50,000 (5,000) 4,000

การเปรียบเทียบรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ ปี 25X2 ปี 25X1 บาท % บาท % รายได้ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม 450 100 290 100 หัก ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินรับฝาก 350 78 203 70 รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 100 22 87 30

การตรวจสอบการผ่านรายการ การพิสูจน์ความถูกต้องและความครบถ้วนทางบัญชี โดยตรวจสอบการผ่านรายการจากสมุดบัญชีขั้นต้นไปยัง สมุดบัญชีขั้นปลาย (แยกประเภท) และการจัดทำงบทดลอง

การหารายการผิดปกติ การตรวจรายการในสมุดขั้นต้น บัญชีแยกประเภท หรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ เพื่อดูว่ามีสิ่งผิดปกติหรือไม่ เช่น รายการลูกหนี้ควรมียอดคงเหลือด้านเดบิต แต่มียอดอยู่ทางด้านเครดิต หรือรายการค่าเช่า ค่าไฟฟ้า โดยปกติควรมีรายการ 12 เดือน ถ้าไม่ครบถ้วน หรือมากกว่าปกติควรติดตามตรวจสอบให้ถึงที่สุด เป็นต้น

การตรวจสอบกิจการ  การตรวจสอบด้านการบริหารทั่วไป  การตรวจสอบด้านการเงิน  การตรวจสอบการลงทุน  การตรวจสอบการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์  การตรวจสอบการจัดหาทุน

การตรวจสอบด้านการบริหารทั่วไป

ขั้นตอนการกำหนดวิธีการตรวจสอบ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการตรวจสอบ ทำความเข้าใจระบบบัญชีและการควบคุมภายในที่สำคัญ กำหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ 18

ระเบียบ/ประกาศ/มติที่ประชุมของสหกรณ์โดยรวม ระเบียบ กำหนดไว้ครอบคลุมทุกด้าน ด้านบุคคล/ธุรกิจ ทดสอบการปฏิบัติตามระเบียบที่กำหนดไว้ ประกาศ/มติที่ประชุมของสหกรณ์ ทดสอบการปฏิบัติตามประกาศ มติที่ประชุม

การควบคุมหลักฐานเอกสาร การรับเงิน 1. สอบทานเอกสารการรับเงินมีการเรียงลำดับเล่ม /เลขที่ไว้ล่วงหน้า 2. สอบทานเอกสารการรับเงินที่ยกเลิกได้นำมาแนบติดไว้กับสำเนา 3. สอบทานการลงลายมือชื่อผู้รับเงินในเอกสารการรับเงิน 4. สอบทานการรับเงินด้วยเช็คจะต้องสั่งจ่ายในนาม “สหกรณ์” ขีดคร่อมและต้องนำฝากเข้าบัญชีของสหกรณ์

การตรวจสอบการใช้เงินตามประมาณการรายจ่าย วิเคราะห์ประมาณการรายจ่ายจากรายงานประจำปีปีก่อน (รายงานประชุมใหญ่) เปรียบเทียบกับรายจ่ายจริงปีปัจจุบัน วิเคราะห์หาสาเหตุของผลต่างจากการประมาณการและจ่ายจริง วิเคราะห์รายจ่ายที่เกิดขึ้นจริง แต่สหกรณ์ไม่ได้ประมาณการไว้ รายจ่ายที่เกิดขึ้นสม่ำเสมอทุกปี โดยสามารถประมาณการได้อย่างแน่นอน

การวิเคราะห์การใช้เงินตามประมาณการรายจ่าย ลำดับที่ รายจ่าย ประมาณการรายจ่าย จ่ายจริง ผลต่าง 1 เงินเดือนและค่าจ้าง 300,000.00 290,000.00 10,000.00 2 ค่าล่วงเวลา 50,000.00 48,000.00 2,000.00 3 ค่าน้ำ ไฟ และโทรศัพท์ 4,000.00 3,500.00 500.00 4 ค่าต่อเติมอาคารสำนักงาน 0.00 100,000.00 -100,000.00 5 ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ 5,000.00 4,850.00 150.00 6 ค่าตอบแทนผู้ตรวจสอบกิจการ 12,000.00 7 ค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะกรรมการและเจ้าหน้าที่ 20,000.00 30,000.00 -10,000.00 8 ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ 54,000.00 70,000.00 -16,000.00 9 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 3,000.00 -7,000.00   รวมทั้งสิ้น 448,000.00 568,350.00 -120,350.00

การตรวจสอบด้านการเงิน

ระเบียบการรับจ่ายและการเก็บรักษาเงินที่กำหนดไว้ ทดสอบการปฏิบัติตามระเบียบ ประกาศ/มติที่ประชุมของสหกรณ์ด้านการเงิน ทดสอบการปฏิบัติตามประกาศ มติที่ประชุม

เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝากสหกรณ์อื่น ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ เช็คเดินทาง เช็คที่ยังมิได้นำฝาก ดราฟท์ของธนาคาร ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์ และธนาณัติ เงินฝากธนาคารทุกประเภท บัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารและ สถาบันการเงิน ความหมาย เงินที่สหกรณ์ฝากไว้ที่ชุมนุมสหกรณ์ และสหกรณ์อื่น

การตรวจสอบเงินสดและเงินฝากธนาคารคงเหลือ รายการตามบัญชีแยกประเภท ยอดยกมา ณ วันต้นงวด 1 รายละเอียดปีก่อน เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐานธนาคาร ลดลงระหว่างปี 3 ตรวจตัดยอดเงินสดและเงินฝากธนาคาร ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด 4 ตรวจนับเงินสด เปรียบเทียบหลักฐานธนาคาร งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร งบทดลอง ขอยืนยันยอดเงินฝากธนาคาร งบการเงิน

1. ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ของเอกสารหลักฐาน ตรวจสอบเอกสารหลักฐานกับการบันทึกบัญชี บันทึกบัญชี การรับเงิน หลักฐานการรับเงิน สลิปรับ/สลิปจ่าย สมุดเงินสด/ สมุดรายวันทั่วไป การจ่ายเงิน/เช็ค หลักฐานการจ่าย สมุดแยกประเภท  1. ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ของเอกสารหลักฐาน งบทดลอง 2. ทดสอบการคำนวณจำนวนเงินในเอกสารหลักฐานการรับ – จ่าย เปรียบเทียบกับสลิปรับ - สลิปจ่าย 3. ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชีกับสลิปรับ - สลิปจ่าย 4. ตรวจสอบการผ่านรายการจากสมุดเงินสดไปสมุดแยกประเภททั่วไป 5. ตรวจหาความผิดปกติในบัญชีค่าใช้จ่าย - รายจ่ายประจำ -สูงมากผิดปกติ เคลียร์บัญชีเงินทดรองจ่าย ค่าเบี้ยเลี้ยง พาหนะ นานผิดปกติ - ยอดดุลของบัญชีผิดปกติ

ตรวจสอบการบันทึกบัญชี การตรวจตัดยอดเงินสด ตรวจสอบการบันทึกบัญชี ม.ค. - พ.ย. ปีปัจจุบัน งวดที่ตรวจ ธ.ค. ม.ค.ปีใหม่ เอกสาร เอกสาร ปรับปรุงบัญชีผิดงวด

ตรวจสอบเงินฝากธนาคาร เปรียบเทียบรายการรับ - จ่ายในบัญชีเงินฝาก ธนาคารกับใบแจ้งยอด/สมุดคู่บัญชีของธนาคาร สหกรณ์การเกษตร.........จำกัด งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร............. ประเภท..... ณ วันที่................... ยอดคงเหลือตามใบแจ้งยอดของธนาคาร xxx บวก เงินฝากระหว่างทาง xxx xxx หัก เช็คค้างจ่าย ธนาคาร เลขที่ วันที่ในเช็ค จำนวนเงิน .......... ...... .......... ......... .......... ...... .......... ......... xxx ยอดคงเหลือตามบัญชี xxx ตรวจตัดยอดเงินฝากและถอนเงิน สอบทานงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร - กระทบยอดคงเหลือบัญชีเงินฝากธนาคารกับ ใบแจ้งยอด / สมุดบัญชีของธนาคาร ตรวจสอบเงินฝากระหว่างทางกับใบนำฝาก ตรวจสอบรายการเช็คที่สหกรณ์สั่งจ่าย แต่ยังไม่ได้ขึ้นเงิน ขอหนังสือแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร/ภาระผูกพัน

การตรวจสอบการลงทุนของสหกรณ์

กฎหมาย/ข้อบังคับ/ระเบียบ/ประกาศการลงทุนที่กำหนด ทดสอบการปฏิบัติตามระบบ ประกาศ/มติที่ประชุมของสหกรณ์ด้านการลงทุน ทดสอบการปฏิบัติตามประกาศ มติที่ประชุม

พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ เงินลงทุน หมายถึงหลักทรัพย์ตามกฎหมายและตามประกาศของ คพช. ที่สหกรณ์ถือไว้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้รับผลประโยชน์ในรูปของ รายได้ (เช่น ดอกเบี้ย/เงินปันผล) หรือในรูปของประโยชน์อย่างอื่น ที่สหกรณ์ได้รับ อาจเป็นเงินลงทุนที่สหกรณ์ตั้งใจถือไว้ชั่วคราว โดยจะขายเมื่อมีความต้องการเงินสด หรือตั้งใจถือไว้เป็นระยะเวลานาน เพื่อให้ได้รับผลตอบแทน ประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ พ.ร.บ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 +

การตรวจสอบด้านเงินลงทุน วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ เพื่อให้แน่ใจว่า 1. มีการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน และมติที่ประชุม คณะกรรมการดำเนินการ 2. เงินลงทุนมีอยู่จริง และเป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ 3. การตีราคาเงินลงทุนเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์กำหนด 4. ความเหมาะสมในการลงทุน

เงินลงทุน การปฏิบัติตาม พ.ร.บ. สหกรณ์/ ประกาศคณะกรรมการพัฒนา ฝากในชุมนุมสหกรณ์ หรือสหกรณ์อื่น ฝากในธนาคารหรือสถาบันการเงินที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์  ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ซื้อหุ้นของธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือ ทางการเงินแก่สหกรณ์  ซื้อหุ้นของชุนนุมสหกรณ์ หรือสหกรณ์อื่น ซื้อหุ้นของสถาบันที่ประกอบธุรกิจ อันทำให้เกิดความ สะดวกห รือส่งเสริมความเจริญแก่กิจการของสหกรณ์ โดยได้รับความเห็นชอบจาก นทส. ฝาก หรือลงทุนอย่างอื่นตามที่คณะกรรมการพัฒนา การสหกรณ์แห่งชาติกำหนด การปฏิบัติตาม พ.ร.บ. สหกรณ์/ ประกาศคณะกรรมการพัฒนา การสหกรณ์แห่งชาติ / มติที่ประชุมใหญ่/คณะกรรมการ

ตรวจสอบการจัดซื้อหลักทรัพย์เป็นไปตาม พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. 2542 และมติของที่ประชุมเกี่ยวกับการมอบอำนาจในการจัดซื้อและ วงเงินที่จัดซื้อแต่ละครั้ง ตรวจดูหลักฐานการซื้อหลักทรัพย์ ให้ถูกต้องตรงกับยอดคงเหลือตามบัญชี และตรวจสอบเป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ ทดสอบการคำนวณดอกเบี้ยรับ หรือผลตอบแทนจากการลงทุนที่ครบกำหนด/ ไถ่ถอนคืน/ขายระหว่างปี ตรวจสอบการบันทึกบัญชีและการผ่านรายการซื้อหลักทรัพย์/ผลตอบแทน และไถ่ถอนคืน หรือขายหลักทรัพย์จากสมุดเงินสดไปบัญชีแยกประเภททั่วไป เปรียบเทียบยอดรวมหลักทรัพย์คงเหลือตามทะเบียนคุมหลักทรัพย์ให้ตรงกับ บัญชีคุมยอด

การตรวจสอบที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีอยู่จริงและครบถ้วน 2. มีการควบคุมเก็บรักษาอย่างปลอดภัยโดยไม่มีการสูญหายหรือทุจริต 3. การเพิ่มขึ้น การตัดจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีการอนุมัติ 4. รายการบัญชีที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาสะสม และดอกเบี้ยจ่ายที่บันทึกเป็นทุน ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เป็นต้น ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

วิธีการตรวจสอบที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สอบทานยอดยกมาที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตรวจสอบการซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตรวจสอบการจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตรวจสอบการคำนวณค่าเสื่อมราคา ตรวจนับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตรวจสอบรายได้จากการให้เช่าสินทรัพย์

การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ การตรวจสอบ การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ 38

การตรวจสอบธุรกิจสินเชื่อ

ทำความเข้าใจรายการที่ต้องการกำหนดวิธีการตรวจสอบ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง - การจ่ายเงินกู้ - การรับชำระหนี้ - การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - การตัดหนี้สูญ เอกสารหลักฐาน - สัญญาต่าง ๆ - สมุดบัญชีสมาชิก - เอกสารรับ - จ่ายเงิน - รายงานที่เกี่ยวข้อง ระเบียบที่เกี่ยวข้อง - ระเบียบ นทส. ว่าด้วย การบัญชีของสหกรณ์ พ.ศ. 2542 - คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ พ.ศ. 2547 - ระเบียบ นทส. ว่าด้วยการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้และการเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ พ.ศ. 2544 - ระเบียบ นทส. ว่าด้วย การตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ฯ พ.ศ. 2546 - ระเบียบสหกรณ์เกี่ยวกับการให้เงินกู้

ทำความเข้าใจในกิจกรรมการควบคุมภายในที่สำคัญ ทำความเข้าใจระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายใน ประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมควบคุม

วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1. มีการกำหนดและปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการให้เงินกู้ อย่างมีประสิทธิผล 2. หลักฐานการให้เงินกู้ การค้ำประกัน และการรับชำระหนี้มีอยู่ครบถ้วน 3. มีการคำนวณดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ ค่าปรับ ค้างรับ และบันทึกบัญชีโดยถูกต้องตามรอบระยะเวลาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 4. การประมาณจำนวนเงินที่จะเก็บจากลูกหนี้ได้และความ เหมาะสมของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5. ลูกหนี้เงินกู้คงเหลือมีตัวตนอยู่จริง 6. มีการบันทึกบัญชีด้านสินเชื่อถูกต้องครบถ้วน 42

วิธีตรวจสอบการให้สินเชื่อ สอบทานการปฏิบัติตามระเบียบ ตรวจสอบยอดยกมา ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ตรวจสอบการจ่ายเงินกู้ ตรวจสอบการรับชำระหนี้ เปรียบเทียบยอด การตรวจสอบการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตรวจสอบการตัดจำหน่ายหนี้สูญ การยืนยันยอด

ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ การแบ่งแยกหน้าที่ ทำความเข้าใจระเบียบการให้เงินกู้ ประเภทเงินให้กู้ วงเงินสินเชื่อ หลักประกัน คุณสมบัติ อัตราดอกเบี้ย วันที่ประกาศใช้ เงินกู้ฉุกเฉิน ไม่เกิน 30,000 บาท - เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า 6 เดือน 7 1 เม.ย. 52 เงินกู้สามัญ ไม่เกิน........บาท บุคคล/หลักทรัพย์ เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า....เดือน …………… …… เงินกู้พิเศษ หลักทรัพย์ 44

ตรวจสอบลูกหนี้เงินกู้ รายการตามบัญชีแยกประเภท ทดสอบยอดยกมาบัญชีย่อย ยอดยกมา ณ วันต้นงวด 1 รายละเอียดปีก่อน เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2 ตรวจสอบการจ่ายเงินกู้ ตรวจสอบการรับชำระหนี้ ลดลงระหว่างปี 3 ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด 4 เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยกับบัญชีคุมยอด สอบทานหนี้ลูกหนี้เงินกู้ งบทดลอง งบการเงิน 45

หลักฐานการให้เงินกู้ คำขอกู้เงินสามัญ วันที่ 15 มิถุนายน 2554 เสนอ คณะกรรมการดำเนินการ ข้าพเจ้า นางร่ำรวย มั่นคง สมาชิกเลขที่ 98 อยู่บ้านเลขที่.............ขอเสนอคำขอกู้และรายละเอียดดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้าพเจ้าขอกู้เงินจำนวน 100,000 บาท วัตถุประสงค์เพื่อ..................................................................... ร่ำรวย มั่นคง หลักฐานการให้เงินกู้ ตรวจดู ชื่อ – นามสกุล ตรวจดู จำนวนเงินที่กู้ ตรวจดู วันที่กู้ หนังสือกู้เงินสามัญ วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 เสนอ คณะกรรมการดำเนินการ ข้าพเจ้า นางร่ำรวย มั่นคง สมาชิกเลขที่ 98 อยู่บ้านเลขที่.......... ขอทำหนังสือกู้ให้ไว้แก่สหกรณ์ เพื่อเป็นหลักฐานดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้าพเจ้าขอกู้เงินจำนวน 100,000 บาท วัตถุประสงค์เพื่อ..................................................................... ร่ำรวย มั่นคง บันทึกการอนุมัติเงินกู้ ตามรายงานการประชุมครั้งที่..วันที่ 25 มิ.ย.54 กำหนดวงเงินจำนวน 100,000 บาท และให้ชำระคืนเสร็จภายในวันที่....... เสนอ ใจดี ประธานในที่ประชุม สมศรี งามตา เลขานุการ 46

ตรวจสอบหลักฐานการให้เงินกู้ ความถูกต้องครบถ้วนและเหมาะสมของ หลักประกัน  การค้ำประกันด้วยบุคคล  การค้ำประกันด้วยอสังหาริมทรัพย์ ตรวจดู บุคคลผู้ค้ำประกัน คำขอกู้ หนังสือค้ำประกัน ตรวจดู โฉนดที่ดิน หนังสือสัญญาจำนอง ที่ดินเป็นประกัน 47

สลิปโอนหรือ สลิปจ่าย /สลิปเดบิต ตรวจสอบการจ่ายเงินกู้ หนังสือกู้เงิน สอบทานวงเงินกู้ที่จ่ายให้สมาชิก สอบทานวันที่อนุมัติกับวันที่จ่ายเงินกู้ สอบทานลายมือชื่อผู้รับเงินเป็น ลายมือชื่อเดียวกับสมาชิกผู้กู้ สลิปโอนหรือ สลิปจ่าย /สลิปเดบิต บัญชีย่อย ลูกหนี้เงินกู้ ใบรับเงินกู้ ทะเบียน จ่ายเงินกู้ บันทึกบัญชี บัญชีคุมยอด (สมุดรวมบัญชีทั่วไป/ สมุดบัญชีแยกประเภท) Dr. ลูกหนี้เงินกู้ Cr. เงินฝากธนาคาร / เงินสด ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

ตรวจสอบการรับชำระหนี้ สลิปรับ / สลิปเครดิต สมาชิกส่งเงินที่สหกรณ์ ใบเสร็จรับเงิน บัญชีย่อย ลูกหนี้เงินกู้ ทดสอบต้นเงิน ต้นเงินที่เรียกเก็บ = จำนวนเงินกู้ทั้งสิ้น จำนวนงวด ทดสอบการคำนวณดอกเบี้ย ดอกเบี้ยรับที่เรียกเก็บ = ต้นเงินกู้คงเหลือ x ระยะเวลาการเป็นหนี้ x อัตราดอกเบี้ย Dr. เงินสด Cr. ลูกหนี้เงินกู้ดอกเบี้ยรับ ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

เปรียบเทียบยอดรวมของบัญชีย่อยลูกหนี้เงินกู้กับบัญชีคุมยอดลูกหนี้ใน สมุดรวมบัญชีทั่วไป/สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป เท่ากัน ค้นหาสาเหตุและแก้ไข ต่ำกว่า หาผู้รับผิดชอบ สูงกว่า เดบิต ลูกหนี้เงินกู้ เครดิต ค่าเผื่อลูกหนี้เงินกู้คลาดเคลื่อน ไม่เท่ากัน ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การตรวจสอบการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ชำระหนี้ได้ตามกำหนด ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันไม่เกิน 3 เดือน ขอผ่อนเวลาชำระหนี้ ฟ้องดำเนินคดี ลูกหนี้ปกติ ชำระได้ ตามปกติ ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันเกิน 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน ได้รับการผ่อนเวลาการชำระหนี้ ต่ำกว่ามาตรฐาน ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันเกิน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน ได้ฟ้องดำเนินคดี ไม่สามารถชำระได้ปกติ จัด ชั้นสงสัย ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

จัด ชั้นสงสัย จะสูญ จัด ชั้นสูญ ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันเกิน 12 เดือน ตามพฤติการณ์ไม่สามารถเรียกให้ชำระหนี้ ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องและสหกรณ์ยื่นคำขอเฉลี่ยทรัพย์ สหกรณ์ได้ฟ้องเป็นคดีล้มละลาย หรือหนี้ที่สหกรณ์ได้ยื่นคำขอรับ ชำระหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องในคดีล้มละลาย จัด ชั้นสงสัย จะสูญ ถึงแก่ความตาย/สาบสูญ/หายสาบสูญ เจ้าหนี้อื่นมีบุริมสิทธิ์เหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ ถูกฟ้องล้มละลายไม่มีทรัพย์สินใดชำระหนี้ได้ ประนอมหนี้ในคดีล้มละลาย หรือศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่สามารถชำระหนี้ได้โดยสิ้นเชิง จัด ชั้นสูญ ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การสอบทานการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ทดสอบการประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ร้อยละ 20 - ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย ร้อยละ 50 - ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ/จัดชั้นสูญ ร้อยละ 100 นำต้นเงินและดอกเบี้ยที่ได้รับชำระหลังวันสิ้นปีบัญชี แต่ก่อนวันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน มาหักออกได้จากต้นเงินและดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ นำมูลค่าหลักประกันมาหัก - มูลค่าหุ้นของผู้กู้ ร้อยละ 100 - หลักประกันที่เป็นสิทธิ ร้อยละ 100 - หลักประกันอื่น ไม่เกินร้อยละ 50 ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การตรวจสอบการตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ สอบทานว่าเป็นหนี้ที่สามารถตัดหนี้สูญได้ตามระเบียบ  หนี้ที่เกิดจากการประกอบกิจการ  มีหลักฐานชัดแจ้งที่สามารถฟ้องลูกหนี้ได้  มีหลักฐานการติดตามทวงถามหรือมีการฟ้องคดีแล้ว แต่ไม่ได้รับการชำระหนี้  ลูกหนี้ถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย  หนี้ที่เกิดจากการทุจริตหรือความบกพร่องในการดำเนินการ ของกรรมการ/เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์/บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในสหกรณ์ ต้องมีการติดตามทวงถามจนถึงที่สุดหรือมีการ ฟ้องคดีแล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้ 54

ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจำนวน กำหนดวาระการประชุมใหญ่เรื่องการตัดจำหน่ายหนี้สูญ พร้อมทั้งสรุปเรื่องโดยย่อแจ้งเป็นหนังสือให้สมาชิก ไม่น้อยกว่า 7 วัน ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่โดยมีคะแนนเสียงเกินกว่า กึ่งหนึ่งของสมาชิกที่มาประชุม ให้บันทึกไว้ในรายการประชุมใหญ่ด้วยว่า การอนุมัติตัดจำหน่ายหนี้สูญเป็นเพียงการปฏิบัติ ทางบัญชีเท่านั้น มิได้เป็นการระงับซึ่งสิทธิเรียกร้อง จากผู้ต้องรับผิดชอบต่อสหกรณ์แต่อย่างใด สอบทานการตัดหนี้สูญ กรณีลูกหนี้แต่ละรายมีจำนวนหนี้รวมกัน ไม่เกิน 30,000 บาท ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ได้ ถ้าปรากฏหลักฐานมีการติดตามทวงถาม แต่ไม่ได้รับชำระหนี้ และหากฟ้องเสียค่าใช้จ่าย ไม่คุ้มกับหนี้ 55

การยืนยันยอดลูกหนี้เงินกู้ เลือกบัญชีลูกหนี้เงินกู้ที่จะส่งยืนยันยอด ขอรายละเอียดบัญชีลูกหนี้เงินกู้ที่เลือกขึ้นมา ตรวจสอบความถูกต้องของรายละเอียดของหนังสือยืนยันยอดก่อนส่ง กรณีหนังสือยืนยันยอดส่งคืนโดยไปรษณีย์ ให้ขอที่อยู่ที่ถูกต้องและส่งอีกครั้ง กรณีมีข้อทักท้วง ให้ตรวจสอบผลต่างที่ลูกหนี้แจ้งมาโดยเร็ว และให้สหกรณ์สอบสวนหาข้อเท็จจริง รวมทั้งติดตามการแก้ไข ไม่สามารถส่งหนังสือยืนยันยอด หรือไม่ได้หนังสือยืนยันยอดคืนจากลูกหนี้ให้ใช้วิธีการตรวจสอบอื่นแทน ดังนี้ ตรวจสอบการรับชำระหนี้ภายหลังวันที่ขอยืนยันยอด ตรวจสอบหลักฐานการเป็นหนี้และการลงลายมือชื่อรับเงินกู้ 56

ตรวจสอบการคำนวณเงินเฉลี่ยคืนและการจ่ายเงินเฉลี่ยคืน  ตรวจสอบการจ่ายเงินเฉลี่ยคืนเป็นไปตามกฎหมายและมติที่ประชุมใหญ่  ทดสอบการคำนวณเงินเฉลี่ยคืนว่าถูกต้องครบถ้วนและสัมพันธ์กับยอดรวม ดอกเบี้ยเงินให้กู้ ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การตรวจสอบธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย

การกำหนดระเบียบของสหกรณ์ การกำหนดแผนงาน หรือเป้าหมาย กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ได้แก่ ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการจัดหาสิ่งของที่สมาชิกต้องการมาจำหน่าย ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการจำหน่ายสินค้าเป็นเงินเชื่อ การกำหนดแผนงาน หรือเป้าหมาย กำหนดแผนงาน หรือเป้าหมายการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายอย่างชัดเจนและมีความเป็นไปได้

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ การซื้อสินค้าและจ่ายชำระหนี้ แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างเจ้าหน้าที่จัดซื้อสินค้า เจ้าหน้าที่ตลาด เจ้าหน้าที่การเงินและเจ้าหน้าที่บัญชีอย่างชัดเจน การเก็บรักษาสินค้ากระทำโดยผู้ที่มิได้ทำหน้าที่จัดซื้อสินค้า และผู้ที่มิได้ ทำหน้าที่บันทึกบัญชี การซื้อสินค้าและจ่ายชำระหนี้ สำรวจความต้องการสินค้าของสมาชิก หรือตลาดก่อนจัดซื้อ ตรวจสอบรายการและปริมาณสินค้าที่ควรสั่งซื้อ ไม่มีการซื้อสินค้าจากผู้ขายเพียงรายเดียวเป็นระยะเวลานาน

การซื้อสินค้าและจ่ายชำระหนี้ (ต่อ) เปรียบเทียบราคาสินค้าจากผู้ขายสินค้าชนิดเดียวกันก่อนตัดสินใจจัดซื้อ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดซื้อสินค้า กำหนดวงเงินในการจัดซื้อสินค้าเป็นเงินสด พิจารณาระยะเวลาการได้รับเครดิตในการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ มีการอนุมัติสั่งซื้อสินค้าโดยผู้มีอำนาจและเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ ใบสั่งซื้อสินค้ามีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า กำหนดผู้รับผิดชอบตรวจรับสินค้า หรือตั้งคณะกรรมการตรวจรับสินค้า ตรวจสอบคุณภาพ ปริมาณและราคาสินค้าที่ได้รับถูกต้องตรงกับใบสั่งซื้อ/ใบเสร็จรับเงิน หรือใบส่งของ/ใบกำกับสินค้าของผู้ขายสินค้า

การซื้อสินค้าและจ่ายชำระหนี้ (ต่อ) กรณีสินค้าที่ได้รับไม่ถูกต้อง ชำรุด เสียหาย ผู้จัดซื้อสินค้าแจ้งให้ผู้ขายเปลี่ยนสินค้า ส่งคืน เรียกชดเชย หรือหักเงิน จัดทำบัญชีย่อยเจ้าหนี้การค้าเป็นปัจจุบัน จ่ายชำระหนี้ค่าสินค้าตามระยะเวลาและเงื่อนไขกำหนด ตรวจสอบบัญชีย่อยเจ้าหนี้การค้าและเอกสารการเป็นหนี้ก่อนเสนออนุมัติ มีการอนุมัติจ่ายชำระหนี้ค่าสินค้าโดยผู้มีอำนาจตามระเบียบของสหกรณ์ มีการลงลายมือชื่อผู้รับชำระหนี้ค่าสินค้าในใบเสร็จรับเงินของผู้ขาย จัดทำรายงานภาษีซื้อ ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มรายเดือนภายในระยะเวลาที่กำหนด

เจ้าหนี้การค้าคงเหลือ เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยเจ้าหนี้การค้าให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททั่วไปอย่างสม่ำเสมอ กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ ขอยืนยันยอดเจ้าหนี้การค้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง การเก็บรักษาสินค้า จัดเก็บสินค้าไว้ในสถานที่เก็บสินค้าอย่างเหมาะสม ปลอดภัย ตรวจนับสินค้าก่อนนำเข้าสถานที่เก็บสินค้า จัดเก็บสินค้าโดยแยกเป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการเบิกจ่ายและตรวจนับ

การเก็บรักษาสินค้า (ต่อ) กำหนดผู้มีอำนาจในการเบิกสินค้าออกจากสถานที่เก็บสินค้า จัดทำทะเบียนคุมสินค้า หรือบัตรสินค้าเป็นปัจจุบัน มีการประกันภัยสินค้าและสถานที่เก็บสินค้าอย่างเหมาะสม รวมทั้งจัดทำทะเบียนกรมธรรม์ประกันภัยเป็นปัจจุบัน ตรวจสอบสภาพสถานที่เก็บสินค้า และจัดทำรายงานผลการตรวจสอบเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ จัดเวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่เก็บสินค้า

การจำหน่ายสินค้า มีการประเมินความสามารถในการชำระหนี้และหลักประกันของผู้ซื้อ ก่อนการขายเชื่อสินค้า มีการอนุมัติวงเงินขายเชื่อสินค้าให้ผู้ซื้อแต่ละรายโดยผู้มีอำนาจ และเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ ตรวจสอบสัญญาขายสินค้าเงินเชื่อและหลักประกันของผู้ซื้อที่ได้รับอนุมัติวงเงินขายเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ การขายสินค้าเกินกว่าวงเงินขายเชื่อจะต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ กำหนดราคาขายสินค้าแต่ละประเภทและการให้ส่วนลดอย่างชัดเจน ตรวจสอบราคาขายที่ใช้คำนวณมูลค่าสินค้าที่ขายในเอกสารการขาย ตรงกับราคาขายที่กำหนด

การจำหน่ายสินค้า (ต่อ) การขายสินค้าลดราคา หรือจัดโปรโมชั่นส่งเสริมการขายจะต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ การขายสินค้าต่ำกว่าราคาทุนจะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการให้ทำได้ เอกสารการขายสินค้าเป็นเงินสด/เงินเชื่อมีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับมอบสินค้าในใบกำกับสินค้า จัดทำบัญชีย่อยลูกหนี้การค้าเป็นปัจจุบัน จัดทำรายงานขายสินค้าประจำวันเปรียบเทียบให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภททั่วไป กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ จัดทำรายงานภาษีขาย ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มรายเดือนภายในระยะเวลาที่กำหนด

การรับชำระหนี้ คำนวณค่าปรับลูกหนี้การค้าในอัตราที่กำหนดตามระเบียบของสหกรณ์ การรับชำระหนี้ค่าสินค้าเป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญาขายสินค้า และระเบียบของสหกรณ์ ใบเสร็จรับเงินมีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับชำระหนี้ค่าสินค้า ค่าปรับ(ถ้ามี) ในใบเสร็จรับเงิน รวมถึงบันทึกบัญชีย่อยลูกหนี้การค้าทุกครั้งที่รับชำระหนี้

การติดตาม ทวงถามการชำระหนี้ ติดตาม ทวงถาม หรือเร่งรัดการชำระหนี้ค่าสินค้า จัดทำรายงานหนี้ที่เกินกำหนดตามสัญญา (ผิดนัดชำระหนี้) เสนอที่ประชุมคณะกรรมการเป็นประจำทุกเดือน

ลูกหนี้การค้าคงเหลือ และค่าปรับลูกหนี้การค้าค้างรับ เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยลูกหนี้การค้าให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททั่วไปอย่างสม่ำเสมอ กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ ขอยืนยันยอดลูกหนี้การค้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง คำนวณค่าปรับลูกหนี้การค้าค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีในอัตราที่กำหนดตามระเบียบของสหกรณ์

สินค้าคงเหลือ จัดทำรายงานสินค้าคงเหลือ และรายงานสินค้าที่ไม่เคลื่อนไหว เสนอที่ประชุมคณะกรรมการอย่างสม่ำเสมอ จัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ รายละเอียดสินค้าคงเหลือในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มตามรูปแบบที่กรมสรรพากรกำหนด มีการเก็บสินค้าเสื่อมสภาพ ชำรุด ล้าสมัยแยกจากสินค้าปกติ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับสินค้าคงเหลือ ไม่ตรวจนับสินค้ารับฝากขาย วัสดุสำนักงาน/โรงงาน สินค้าที่ลงบัญชี ขายแล้วแต่ผู้ซื้อยังไม่ได้รับไป สินค้าที่ได้รับแล้วแต่ยังไม่ได้ลงบัญชีซื้อ สินค้าเสื่อมสภาพ ชำรุด ล้าสมัยที่ตัดบัญชีแล้วรวมเป็นสินค้าคงเหลือ

สินค้าคงเหลือ (ต่อ) เปรียบเทียบผลการตรวจนับสินค้าคงเหลือในระหว่างปี และ ณ วันสิ้นปีบัญชี ตามใบตรวจนับให้ถูกต้องตรงกับทะเบียนคุมสินค้า กรณีพบข้อแตกต่าง ให้ค้นหาสาเหตุ วิเคราะห์สินค้าคงเหลือตามราคาขาย กรณีพบข้อแตกต่างที่เป็นสาระสำคัญให้ค้นหาสาเหตุ มีการตีราคาสินค้าคงเหลือสภาพปกติ สินค้าเสื่อมสภาพ ชำรุด ล้าสมัย ณ วันสิ้นปีบัญชีเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ วิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้การค้า การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้การค้า ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญค่าปรับลูกหนี้การค้าค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้การค้าเป็นไปตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์

การตัดสินค้าขาดบัญชี การลดหย่อนความรับผิดชอบสินค้าขาดบัญชีจะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการ และเป็นตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดสินค้าขาดบัญชี หรือสินค้าเสื่อมสภาพ ชำรุด ล้าสมัยเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การตรวจสอบธุรกิจรวบรวมผลิตผล

การกำหนดระเบียบของสหกรณ์ การกำหนดแผนงาน หรือเป้าหมาย กำหนดระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการรวบรวมผลิตผล หรือผลิตภัณฑ์ ของสมาชิก การกำหนดแผนงาน หรือเป้าหมาย กำหนดแผนงาน หรือเป้าหมายการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผล อย่างชัดเจนและมีความเป็นไปได้

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างเจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผล เจ้าหน้าที่ตลาด เจ้าหน้าที่การเงินและเจ้าหน้าที่บัญชีอย่างชัดเจน การเก็บรักษาผลิตผลกระทำโดยผู้ที่มิได้ทำหน้าที่รวบรวมผลิตผล และผู้ที่มิได้ทำหน้าที่บันทึกบัญชี การรวบรวม หรือรับซื้อผลิตผลและจ่ายชำระหนี้ สำรวจความต้องการของตลาดก่อนรวบรวมผลิตผล วางแผนหาตลาดเพื่อรองรับผลิตผลที่รวบรวม สืบราคาผลิตผลจากพาณิชย์จังหวัด/พ่อค้าคนกลางก่อนกำหนดราคารับซื้อ

การรวบรวม หรือรับซื้อผลิตผลและจ่ายชำระหนี้ (ต่อ) กำหนดราคารับซื้อผลิตผลแต่ละประเภทและติดประกาศไว้ในที่เปิดเผย อนุมัติรวบรวมผลิตผลโดยผู้มีอำนาจและเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ การรวบรวมผลิตผลนอกที่ทำการสหกรณ์ต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการให้กระทำได้ โดยกำหนดแนวทางปฏิบัติอย่างชัดเจนและเหมาะสม เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผลมีความรู้ ความชำนาญในการพิจารณาคุณภาพ ของผลิตผลแต่ละประเภท ตรวจสอบคุณภาพผลิตผล รวมถึงความชื้นและสิ่งเจือปนก่อนกำหนดราคารับซื้อให้สอดคล้องกับคุณภาพผลิตผล กำหนดวงเงินยืมทดรองเพื่อใช้ในการรวบรวมผลิตผล

การรวบรวม หรือรับซื้อผลิตผลและจ่ายชำระหนี้ (ต่อ) ให้เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผลนำส่งเอกสารการรวบรวมให้เจ้าหน้าที่บัญชี และนำส่งจำนวนเงินคงเหลือให้เจ้าหน้าที่การเงินทุกสิ้นวัน /เช้าวันถัดไป จัดทำเอกสารการรวบรวมผลิตผลถูกต้อง ครบถ้วน จัดทำบัญชีย่อยเจ้าหนี้ค่าผลิตผลเป็นปัจจุบัน การจ่ายชำระหนี้ค่าผลิตผลเป็นไปตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่กำหนด ตรวจสอบบัญชีย่อยเจ้าหนี้ค่าผลิตผลและเอกสารการเป็นหนี้ก่อนเสนอ เพื่ออนุมัติ มีการอนุมัติจ่ายชำระหนี้ค่าผลิตผลโดยผู้มีอำนาจและเป็นไปตาม ระเบียบของสหกรณ์

เจ้าหนี้ค่าผลิตผลคงเหลือ เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยเจ้าหนี้ค่าผลิตผลให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททั่วไปอย่างสม่ำเสมอ กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ การเก็บรักษาผลิตผล จัดเก็บผลิตผลไว้ในสถานที่เก็บผลิตผลอย่างเหมาะสม ปลอดภัย ตรวจนับ หรือคำนวณปริมาณผลิตผลก่อนนำเข้าสถานที่เก็บผลิตผล จัดเก็บผลิตผลโดยแยกตามประเภทและคุณภาพ เพื่อความสะดวกในการเบิกจ่ายและตรวจนับ กำหนดผู้มีอำนาจเบิกผลิตผลออกจากสถานที่เก็บผลิตผล

การเก็บรักษาผลิตผล (ต่อ) จัดทำทะเบียนคุมสินค้า หรือบัตรสินค้าเป็นปัจจุบัน มีการทดสอบการยุบตัวตามสภาพ หรือการสูญเสียน้ำหนักของผลิตผล แต่ละประเภท มีการตรวจสอบคุณภาพของผลิตผลเป็นระยะ มีการประกันภัยผลิตผลและสถานที่เก็บผลิตผลอย่างเหมาะสม ตรวจสอบสภาพสถานที่เก็บผลิตผล และจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ เสนอที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ จัดเวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่เก็บผลิตผล

การใช้และดูแล บำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ (เครื่องชั่ง ตวง วัดและอุปกรณ์) เป็นปัจจุบัน กำหนดผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบสภาพการใช้งาน ดูแลและบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างชัดเจน ทดสอบการใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์สม่ำเสมอ และจัดทำรายงานผล การทดสอบเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ประกันภัยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จำนวนมาก หรือมูลค่าสูงจนมีนัยสำคัญอย่างเหมาะสม และจัดทำทะเบียนกรมธรรม์ประกันภัยเป็นปัจจุบัน กำหนดมาตรการเพื่อรองรับกรณีที่เครื่องมือและอุปกรณ์ชำรุด เสียหาย คำนวณค่าเสื่อมราคาในอัตราที่กำหนดตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การจำหน่ายผลิตผล มีการประเมินความสามารถในการชำระหนี้และหลักประกันของผู้ซื้อ ก่อนการขายเชื่อผลิตผล มีการอนุมัติวงเงินขายเชื่อผลิตผลให้ผู้ซื้อแต่ละรายโดยผู้มีอำนาจ และเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ ตรวจสอบสัญญาขายผลิตผลเงินเชื่อและหลักประกันของผู้ซื้อที่ได้รับอนุมัติวงเงิน ขายเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ การขายผลิตผลเกินกว่าวงเงินขายเชื่อจะต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ กำหนดราคาขายผลิตผลแต่ละประเภทและติดประกาศไว้ในที่เปิดเผย

การจำหน่ายผลิตผล (ต่อ) ตรวจสอบราคาขายที่ใช้คำนวณมูลค่าผลิตผลที่ขายในเอกสารการขาย ตรงกับราคาขายที่กำหนด การขายผลิตผลต่ำกว่าราคาทุนต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการให้ทำได้ เอกสารการขายผลิตผลเงินสด/เงินเชื่อมีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับมอบผลิตผลในใบกำกับสินค้า จัดทำบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าผลิตผลเป็นปัจจุบัน

การรับชำระหนี้ คำนวณค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผลในอัตราที่กำหนดตามระเบียบของสหกรณ์ การรับชำระหนี้ค่าผลิตผลเป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญาขายผลิตผล และระเบียบของสหกรณ์ ใบเสร็จรับเงินมีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับชำระหนี้ค่าผลิตผล ค่าปรับ(ถ้ามี) ในใบเสร็จรับเงิน รวมถึงบันทึกบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าผลิตผลทุกครั้งที่รับชำระหนี้

การติดตาม ทวงถามการชำระหนี้ ติดตาม ทวงถาม หรือเร่งรัดการชำระหนี้ค่าผลิตผล จัดทำรายงานหนี้ที่เกินกำหนดตามสัญญา (ผิดนัดชำระหนี้) เสนอที่ประชุมคณะกรรมการเป็นประจำทุกเดือน 85

ลูกหนี้ค่าผลิตผลคงเหลือ และค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผลค้างรับ เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าผลิตผลให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททั่วไปอย่างสม่ำเสมอ กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ ขอยืนยันยอดลูกหนี้ค่าผลิตผลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง คำนวณค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผลค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีในอัตราที่กำหนด ตามระเบียบของสหกรณ์

ผลิตผลคงเหลือ จัดทำรายงานผลิตผลคงเหลือเสนอที่ประชุมคณะกรรมการอย่างสม่ำเสมอ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับผลิตผลคงเหลือ เปรียบเทียบผลการตรวจนับ/คำนวณปริมาณผลิตผลคงเหลือในระหว่างปี และ ณ วันสิ้นปีบัญชีตามใบตรวจนับให้ถูกต้องตรงกับทะเบียนคุมผลิตผล กรณีพบข้อแตกต่าง ให้ค้นหาสาเหตุ มีการตีราคาผลิตผลคงเหลือสภาพปกติ และผลิตผลเสื่อมสภาพ ณ วันสิ้นปีบัญชีเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ วิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้ค่าผลิตผล การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ค่าผลิตผล ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญค่าปรับลูกหนี้ ค่าผลิตผลค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่าผลิตผลเป็นไปตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์ 88

การตัดผลิตผลขาดบัญชี การลดหย่อนความรับผิดชอบผลิตผลขาดบัญชีจะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการ และเป็นตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดผลิตผลขาดบัญชี หรือผลิตผลยุบตัวตามสภาพ เสื่อมสภาพ เป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การตรวจสอบธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรฯ

การกำหนดแผนงาน หรือเป้าหมาย การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ กำหนดแผนงาน หรือเป้าหมายการดำเนินธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรฯ อย่างชัดเจนและมีความเป็นไปได้ การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างเจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผล เจ้าหน้าที่ผลิต เจ้าหน้าที่ตลาด เจ้าหน้าที่การเงินและเจ้าหน้าที่บัญชีอย่างชัดเจน การเก็บรักษาวัตถุดิบ/ผลิตผลกระทำโดยผู้ที่มิได้ทำหน้าที่รวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผล และผู้ที่มิได้ทำหน้าที่บันทึกบัญชี

การซื้อวัตถุดิบ/ผลิตผลและจ่ายชำระหนี้ สืบราคาวัตถุดิบ/ผลิตผลจากพาณิชย์จังหวัด หรือพ่อค้าคนกลาง ก่อนกำหนดราคารับซื้อ กำหนดราคารับซื้อวัตถุดิบ/ผลิตผลแต่ละประเภท และติดประกาศไว้ ในที่เปิดเผย มีการอนุมัติรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลโดยผู้มีอำนาจและเป็นไปตาม ระเบียบของสหกรณ์ การรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลนอกที่ทำการสหกรณ์จะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ให้กระทำได้ โดยกำหนดแนวทางปฏิบัติชัดเจนและเหมาะสม เจ้าหน้าที่รวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลมีความรู้ ความชำนาญในการพิจารณาคุณภาพของผลิตผลแต่ละชนิด

การซื้อวัตถุดิบ/ผลิตผลและจ่ายชำระหนี้ (ต่อ) ตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ/ผลิตผล รวมถึงความชื้นและสิ่งเจือปน ก่อนกำหนดราคารับซื้อให้สอดคล้องกับคุณภาพของผลิตผล กำหนดวงเงินยืมทดรองเพื่อใช้ในการรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผล ให้เจ้าหน้าที่รวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลนำส่งเอกสารการรวบรวมให้ เจ้าหน้าที่บัญชี และนำส่งจำนวนเงินคงเหลือให้เจ้าหน้าที่การเงินทุกสิ้นวัน หรือเช้าของวันถัดไป จัดทำเอกสารการรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลถูกต้อง ครบถ้วน จัดทำบัญชีย่อยเจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบเป็นปัจจุบัน

การซื้อวัตถุดิบ/ผลิตผลและจ่ายชำระหนี้ (ต่อ) เจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบคงเหลือ จ่ายชำระหนี้ค่าวัตถุดิบ/ผลิตผลตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่กำหนด ตรวจสอบบัญชีย่อยเจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบและเอกสารการเป็นหนี้ก่อนเสนอเพื่ออนุมัติ มีการอนุมัติจ่ายชำระหนี้ค่าวัตถุดิบ/ผลิตผลโดยผู้มีอำนาจและเป็นไป ตามระเบียบของสหกรณ์ เจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบคงเหลือ เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยเจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททั่วไปอย่างสม่ำเสมอ กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ

การแปรรูป/ผลิตสินค้าสำเร็จรูป มีการสำรวจความต้องการของตลาดก่อนการแปรรูป/ผลิตสินค้าสำเร็จรูป วางแผนการแปรรูป/ผลิตสินค้าสำเร็จรูปให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด มีการอนุมัติให้ดำเนินการแปรรูป/ผลิตสินค้าโดยผู้มีอำนาจและเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ ตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ/ผลิตผลก่อนนำเข้าแปรรูป/ผลิตสินค้าสำเร็จรูป มีการควบคุมขั้นตอนการแปรรูป/ผลิตสินค้าสำเร็จรูป มีการทดสอบการแปรรูป/ผลิตสินค้าหาอัตราร้อยละของปริมาณสินค้าสำเร็จรูปที่ได้จากการแปรรูป/ผลิต และอัตราร้อยละของสิ่งสูญเสีย แล้วกำหนดเป็นมาตรฐานการผลิตของสหกรณ์

การแปรรูป/ผลิตสินค้าสำเร็จรูป (ต่อ) จัดทำรายงานการใช้วัตถุดิบ/ผลิตผล และจัดทำรายงานผลการแปรรูป/ผลิตสินค้าเสนอผู้รับผิดชอบ/ผู้จัดการ มีการเปรียบเทียบปริมาณสินค้าสำเร็จรูปที่ได้จากการแปรรูป/ผลิตสินค้าแต่ละครั้งกับมาตรฐานการผลิตของสหกรณ์ กรณีสินค้าสำเร็จรูปมีปริมาณต่ำกว่ามาตรฐานการผลิตอย่างมีนัยสำคัญให้ค้นหาสาเหตุ จัดทำรายงานผลแตกต่างระหว่างปริมาณสินค้าที่ผลิตได้จริงกับมาตรฐาน การผลิตของสหกรณ์เสนอผู้รับผิดชอบ/ผู้จัดการ ตรวจสอบคุณภาพของสินค้าสำเร็จรูปอย่างสม่ำเสมอ มีการจัดการผลิตผลพลอยได้จากการแปรรูป/ผลิตสินค้าเหมาะสม

การเก็บรักษาวัตถุดิบ/สินค้าสำเร็จรูป จัดเก็บวัตถุดิบ/ผลิตผล และสินค้าสำเร็จรูปไว้ในสถานที่เก็บอย่างเหมาะสม ปลอดภัย ตรวจนับ หรือคำนวณปริมาณวัตถุดิบ/ผลิตผล สินค้าสำเร็จรูปก่อนนำเข้าสถานที่เก็บ จัดเก็บวัตถุดิบ/ผลิตผล สินค้าสำเร็จรูปแยกตามประเภทและคุณภาพ เพื่อความสะดวกในการเบิกจ่ายและตรวจนับ กำหนดผู้มีอำนาจเบิกวัตถุดิบ/ผลิตผล สินค้าสำเร็จรูปออกจากสถานที่เก็บ จัดทำทะเบียนคุมวัตถุดิบ/ผลิตผล ทะเบียนคุมสินค้าสำเร็จรูปเป็นปัจจุบัน

การเก็บรักษาวัตถุดิบ/สินค้าสำเร็จรูป (ต่อ) มีการทดสอบการยุบตัวตามสภาพ/การสูญเสียน้ำหนักของวัตถุดิบ/ผลิตผล และสินค้าสำเร็จรูปแต่ละประเภท ตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ/ผลิตผล สินค้าสำเร็จรูปอย่างสม่ำเสมอ มีการประกันภัยวัตถุดิบ/ผลิตผล สินค้าสำเร็จรูปและสถานที่เก็บ อย่างเหมาะสม ตรวจสอบสภาพสถานที่เก็บวัตถุดิบ/ผลิตผล สินค้าสำเร็จรูป และจัดทำรายงานผลการตรวจสอบเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ จัดเวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่เก็บวัตถุดิบ/ผลิตผล และสินค้าสำเร็จรูป

การใช้และดูแล บำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ (เครื่องมือและอุปกรณ์) เป็นปัจจุบัน กำหนดผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบสภาพการใช้งาน ดูแลและบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างชัดเจน ทดสอบการใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์สม่ำเสมอ และจัดทำรายงานผล การทดสอบเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ประกันภัยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จำนวนมาก หรือมูลค่าสูงจนมีนัยสำคัญอย่างเหมาะสม และจัดทำทะเบียนกรมธรรม์ประกันภัยเป็นปัจจุบัน กำหนดมาตรการเพื่อรองรับกรณีที่เครื่องมือและอุปกรณ์ชำรุด เสียหาย คำนวณค่าเสื่อมราคาในอัตราที่กำหนดตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การจำหน่ายสินค้าสำเร็จรูป มีการประเมินความสามารถในการชำระหนี้และหลักประกันของผู้ซื้อ ก่อนการขายเชื่อสินค้าสำเร็จรูป มีการอนุมัติวงเงินขายเชื่อสินค้าสำเร็จรูปให้ผู้ซื้อแต่ละรายโดยผู้มีอำนาจ และเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ ตรวจสอบสัญญาขายสินค้าเงินเชื่อและหลักประกันของผู้ซื้อที่ได้รับอนุมัติวงเงินขายเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ การขายสินค้าสำเร็จรูปเกินกว่าวงเงินขายเชื่อจะต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ กำหนดราคาขายสินค้าสำเร็จรูปแต่ละประเภท การให้ส่วนลดอย่างชัดเจน

การจำหน่ายสินค้าสำเร็จรูป (ต่อ) ตรวจสอบราคาขายที่ใช้คำนวณมูลค่าสินค้าสำเร็จรูปที่ขายในเอกสารการขาย ตรงกับราคาขายที่กำหนด การขายสินค้าสำเร็จรูปต่ำกว่าราคาทุนต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ให้กระทำได้ เอกสารการขายสินค้าสำเร็จรูปเงินสด/เงินเชื่อมีการเรียงลำดับเลขที่ ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับมอบสินค้าสำเร็จรูปในใบกำกับสินค้า จัดทำบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปเป็นปัจจุบัน

การรับชำระหนี้ คำนวณค่าปรับลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปในอัตราที่กำหนดตามระเบียบ ของสหกรณ์ การรับชำระหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปเป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญาขายสินค้าและระเบียบของสหกรณ์ ใบเสร็จรับเงินมีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับชำระหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูป และค่าปรับ(ถ้ามี) ในใบเสร็จรับเงิน รวมถึงบันทึกบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปทุกครั้ง ที่รับชำระหนี้

การติดตาม ทวงถามการชำระหนี้ ติดตาม ทวงถาม หรือเร่งรัดการชำระหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูป จัดทำรายงานหนี้ที่เกินกำหนดตามสัญญา (ผิดนัดชำระหนี้) เสนอที่ประชุมคณะกรรมการเป็นประจำทุกเดือน

ลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ และค่าปรับค้างรับ เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททั่วไปอย่างสม่ำเสมอ กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ ขอยืนยันยอดลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง คำนวณค่าปรับลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีในอัตรา ที่กำหนดตามระเบียบของสหกรณ์

วัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ จัดทำรายงานวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือเสนอ ที่ประชุมคณะกรรมการอย่างสม่ำเสมอ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิตและ สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ เปรียบเทียบผลการตรวจนับวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ ในระหว่างปี และ ณ วันสิ้นปีบัญชีตามใบตรวจนับให้ถูกต้องตรงกับ ทะเบียนคุม กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ มีการตีราคาวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือสภาพปกติ และเสื่อมสภาพ ณ วันสิ้นปีบัญชีเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ วิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูป การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปและค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญค่าปรับลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีเป็นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่าสินค้าสำเร็จรูปเป็นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การตัดวัตถุดิบ/สินค้าสำเร็จรูปขาดบัญชี การลดหย่อนความรับผิดชอบวัตถุดิบ/สินค้าสำเร็จรูปขาดบัญชีต้องมี มติที่ประชุมคณะกรรมการ และเป็นตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดวัตถุดิบขาดบัญชี หรือวัตถุดิบยุบตัวตามสภาพ/เสื่อมสภาพเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดสินค้าสำเร็จรูปขาดบัญชี หรือสินค้าสำเร็จรูปเสื่อมสภาพเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

การตรวจสอบธุรกิจให้บริการและส่งเสริมการเกษตร

การกำหนดระเบียบของสหกรณ์ กำหนดระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการให้บริการแก่สมาชิก การกำหนดแผนงาน หรือเป้าหมาย กำหนดแผนงาน หรือเป้าหมายการดำเนินธุรกิจให้บริการและส่งเสริมการเกษตรอย่างชัดเจนและมีความเป็นไปได้ การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างเจ้าหน้าที่ให้บริการ เจ้าหน้าที่การเงิน และเจ้าหน้าที่บัญชีอย่างชัดเจน

การให้บริการ มีการอนุมัติวงเงินเชื่อค่าบริการให้แก่ผู้รับบริการแต่ละรายโดยผู้มีอำนาจ และเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ การให้บริการเกินกว่าวงเงินเชื่อค่าบริการจะต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ กำหนดอัตราค่าบริการใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์แต่ละประเภท ติดประกาศ ไว้ในที่เปิดเผย ตรวจสอบอัตราค่าบริการที่ใช้คำนวณในการออกเอกสารการให้บริการตรงกับ อัตราค่าบริการที่กำหนด เอกสารการให้บริการเป็นเงินสด/เงินเชื่อมีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับบริการในใบสำคัญการให้บริการ จัดทำบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าบริการเป็นปัจจุบัน

การรับชำระหนี้ค่าบริการและค่าปรับ คำนวณค่าปรับลูกหนี้ค่าบริการในอัตราที่กำหนดตามระเบียบของสหกรณ์ การรับชำระหนี้ค่าบริการเป็นไปตามข้อกำหนดในให้บริการและ ระเบียบของสหกรณ์ ใบเสร็จรับเงินมีการเรียงลำดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า มีการลงลายมือชื่อผู้รับชำระหนี้ค่าบริการ ค่าปรับ (ถ้ามี) ในใบเสร็จรับเงิน รวมถึงบันทึกบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าบริการทุกครั้งที่รับชำระหนี้

การติดตาม ทวงถามการชำระหนี้ ติดตาม ทวงถาม หรือเร่งรัดการชำระหนี้ค่าบริการ จัดทำรายงานหนี้ที่เกินกำหนดตามสัญญา (ผิดนัดชำระหนี้) เสนอที่ประชุมคณะกรรมการเป็นประจำทุกเดือน

การใช้และดูแล บำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ (เครื่องมือและอุปกรณ์) เป็นปัจจุบัน กำหนดผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบสภาพการใช้งาน ดูแลและบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างชัดเจน ทดสอบการใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์สม่ำเสมอ และจัดทำรายงานผล การทดสอบเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ประกันภัยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จำนวนมาก หรือมูลค่าสูงจนมีนัยสำคัญ อย่างเหมาะสม และจัดทำทะเบียนกรมธรรม์ประกันภัยเป็นปัจจุบัน กำหนดมาตรการเพื่อรองรับกรณีที่เครื่องมือและอุปกรณ์ชำรุด เสียหาย คำนวณค่าเสื่อมราคาในอัตราที่กำหนดตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์

ลูกหนี้ค่าบริการคงเหลือ และค่าปรับค้างรับ เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยลูกหนี้ค่าบริการให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททั่วไปอย่างสม่ำเสมอ กรณีพบข้อแตกต่างให้ค้นหาสาเหตุ สอบทานหนี้กับสมาชิกโดยตรง หรือขอยืนยันยอดลูกหนี้ค่าบริการ อย่างน้อยปีละ1 ครั้ง คำนวณค่าปรับลูกหนี้ค่าบริการค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีในอัตราที่กำหนดตามระเบียบของสหกรณ์

การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ วิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้ค่าบริการ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ค่าบริการ และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญค่าปรับลูกหนี้ค่าบริการค้างรับ ณ วันสิ้นปีบัญชีเป็นไปตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์ การตัดจำหน่ายหนี้สูญ การตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่าบริการเป็นไปตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์

การตรวจสอบการจัดหาทุน

การตรวจสอบเงินรับฝาก วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ เพื่อให้แน่ใจว่า 1. มีการกำหนดและปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับ การรับฝากเงินไว้อย่างเหมาะสม 2. มีการบันทึกบัญชีอย่างถูกต้อง 3. เงินรับฝากมีอยู่จริง ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

วิธีการตรวจสอบเงินรับฝาก ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการรับฝากเงิน ตรวจสอบการรับฝากเงิน ตรวจสอบการถอนเงิน ตรวจสอบการจ่ายดอกเบี้ย วิเคราะห์บัญชีย่อยเจ้าหนี้เงินรับฝาก ยืนยันยอดเงินรับฝาก

ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ ระเบียบที่สหกรณ์กำหนดได้รับความเห็นชอบจาก นทส. ไม่มีการรับฝากจากบุคคลภายนอก ตรวจสอบการควบคุมการเบิกใช้สมุดคู่บัญชีและการออกเลขที่บัญชี ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ตรวจสอบการรับฝากเงิน สมุดสรุปประจำวัน/ สมุดเงินสด สมุดรวมบัญชีทั่วไป/ สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป สลิปเครดิต/สลิปรับ ใบฝากเงิน หลักฐานการเปิดบัญชี ลายมือชื่อ เดบิต เงินสด เครดิต เจ้าหนี้เงินรับฝาก บัญชีย่อยเงินรับฝาก ประเภทเงินรับฝาก ชื่อ – นามสกุล จำนวนเงินฝาก สิ้นปีบัญชีคำนวณดอกเบี้ย = เงินรับฝากคงเหลือ x ระยะเวลาที่ฝาก x อัตราดอกเบี้ย ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ตรวจสอบการถอนเงินฝาก สลิปเดบิต/สลิปจ่าย สมุดสรุปประจำวัน/ สมุดเงินสด สมุดรวมบัญชีทั่วไป/ สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ใบถอนเงิน เดบิต เจ้าหนี้เงินรับฝาก ดอกเบี้ยจ่าย เครดิต เงินสด เปรียบเทียบลายมือชื่อผู้ถอน ผู้มีอำนาจอนุมัติ บัญชีย่อยเงินรับฝาก ปิดบัญชี ประเภทเงินรับฝาก ชื่อ – นามสกุล จำนวนเงินถอน คำนวณดอกเบี้ย = เงินรับฝากคงเหลือ x ระยะเวลาที่ฝาก x อัตราดอกเบี้ย ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ตรวจสอบการจ่ายดอกเบี้ยเงินรับฝาก สมุดสรุปประจำวัน/ สมุดรายวันทั่วไป สมุดรวมบัญชีทั่วไป/ สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป สลิปโอน ใบสรุป ดอกเบี้ย เดบิต ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก เครดิต เจ้าหนี้เงินรับฝาก บัญชีย่อยเงินรับฝาก ประเภทเงินรับฝาก ชื่อ – นามสกุล จำนวนดอกเบี้ย สิ้นปีบัญชีคำนวณดอกเบี้ย = เงินรับฝากคงเหลือ x ระยะเวลาที่ฝาก x อัตราดอกเบี้ย ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

วิเคราะห์บัญชีย่อยเจ้าหนี้เงินรับฝาก การฝากและถอนเงินเป็นวันที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน หรือมีการฝากและถอนวนเวียนเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ปิดบัญชีใกล้วันสิ้นปีแล้วเปิดใหม่ในวันต้นปี บัญชีย่อยเงินรับฝากที่ไม่มาติดต่อนานผิดปกติ มีการแก้ไขวันที่หรือมีการขูดขีดฆ่าหรือใช้เครื่องพิมพ์ดีดพิมพ์ใน ใบฝาก-ถอนเงิน หรือมีการแก้ไขบัญชีย่อยเจ้าหนี้เงินรับฝาก ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การตรวจสอบด้านหนี้สิน วัตถุประสงค์การตรวจสอบ เพื่อให้แน่ใจว่า 1. มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและคำแนะนำ 2. การกู้ยืมเงินเป็นไปตามวัตถุประสงค์และภายในวงเงินที่ได้รับ ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์และมติที่ประชุมใหญ่ 3. มีหนี้สินที่บันทึกไว้มีอยู่จริง ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การควบคุมเกี่ยวกับหนี้สิน วงเงินกู้ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่และความเห็นชอบจาก นทส. ตรวจสอบวงเงินที่สหกรณ์กู้ยืมคงเหลือ วงเงินที่สหกรณ์จะสามารถก่อหนี้ภาระผูกพันได้ในภายหน้า ซึ่งนายทะเบียนสหกรณ์ให้ความเห็นชอบแล้ว วงเงินและจำนวนเงินที่สหกรณ์ได้ก่อหนี้ภาระผูกพันแล้ว วงเงินกู้ยืมรวมของทุกสัญญาที่มีพันธะผูกพันที่จะเกิดขึ้นภายหน้า จำนวนเงินกู้คงเหลือของทุกสัญญาที่ระบุเงื่อนไขให้สหกรณ์รับเงินกู้เพียงงวดเดียว จำนวนเงินที่ระบุในตั๋วเงินจ่ายเพื่อการค้ำประกันการกู้ยืมหรือการค้ำประกันอื่น จำนวนเงินรับฝากจากสหกรณ์อื่นรวมทุกบัญชีที่มีอยู่ หัก ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

วิธีการตรวจสอบด้านหนี้สิน การอนุมัติและการกำหนดผู้มีอำนาจลงนามแทนสหกรณ์ในการกู้ยืม ตรวจดูสัญญาหรือข้อตกลงเกี่ยวกับเงินกู้เปรียบเทียบกับหลักฐาน การรับเงินและการบันทึกบัญชีว่าถูกต้องและตรงตามสัญญา ตรวจหลักฐานการจ่ายชำระคืนและการคำนวณดอกเบี้ยจ่ายว่า มีการจ่ายชำระให้เจ้าหนี้จริงและถูกต้อง ตรวจสอบบัญชีย่อยเจ้าหนี้ ตรวจสอบติดตามหาสาเหตุยอดเจ้าหนี้ ที่ค้างนานและมียอดคงเหลือทางด้านเดบิต เปรียบเทียบยอดรวมรายละเอียดเจ้าหนี้กับบัญชีคุมยอดในบัญชีแยกประเภท ขอคำยืนยันยอดหนี้สิน ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การตรวจสอบทุนของสหกรณ์

การตรวจสอบทุนเรือนหุ้น วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ เพื่อให้แน่ใจว่า 1. มีการกำหนดและปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับสมาชิก และทุนเรือนหุ้น 2. มีการจ่ายเงินปันผลเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และมติที่ประชุมใหญ่ 3. สมาชิกถือหุ้นอยู่จริงตามที่ปรากฏในทะเบียนหุ้น ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

วิธีการตรวจสอบทุนเรือนหุ้น ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ ตรวจสอบการจัดเก็บค่าหุ้นจากสมาชิก ตรวจสอบการจ่ายคืนค่าหุ้นแก่สมาชิก วิเคราะห์ทะเบียนหุ้น ขอคำยืนยันยอดทุนเรือนหุ้น ตรวจสอบการคำนวณเงินปันผล

ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ  ตรวจสอบการรับสมาชิกใหม่  ตรวจสอบการลาออกจากการเป็นสมาชิก  ตรวจสอบการจัดทำทะเบียนสมาชิกและหุ้น ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

ตรวจสอบการจัดเก็บค่าหุ้นจากสมาชิก  ตรวจสอบหลักฐานการรับเงินค่าหุ้นตามงบหน้าเก็บเงินประจำเดือน และใบเสร็จรับเงิน ตรวจสอบหลักฐานยอดรวมการรับเงินค่าหุ้นกับสลิปเครดิต/สลิปรับ และการผ่านรายการไปสมุดสรุปประจำวัน/สมุดเงินสด รวมทั้ง ผ่านไปสมุดรวมบัญชีทั่วไป/สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป  ทดสอบการผ่านรายการรับเงินค่าหุ้นไปบันทึกในทะเบียนหุ้นรายคน ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

ตรวจสอบการจ่ายคืนค่าหุ้นแก่สมาชิก  ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการดำเนินการและสมาชิกที่ลาออก ไม่มีหนี้สินคงค้างและไม่ติดภาระค้ำประกันสมาชิกรายใด  ตรวจสอบหลักฐานยอดรวมการจ่ายคืนค่าหุ้นกับสลิปเดบิต/สลิปจ่าย และการผ่านรายการไปสมุดสรุปประจำวัน/สมุดเงินสด รวมทั้ง ผ่านไปสมุดรวมบัญชีทั่วไป/สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป  ทดสอบการผ่านรายการจ่ายเงินค่าหุ้นไปบันทึกในทะเบียนหุ้นรายคน 132 ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

วิเคราะห์ทะเบียนหุ้น  ทดสอบการเพิ่ม/ลดค่าหุ้น  ทุนเรือนหุ้นไม่เคลื่อนไหวจะต้องสอบถามสาเหตุ ขอคำยืนยันยอดทุนเรือนหุ้น ตรวจสอบการคำนวณเงินปันผล  การจ่ายเงินปันผลเป็นไปตามกฎหมายและมติที่ประชุมใหญ่  สอบถามและขอหลักฐานการจ่ายเงินปันผล ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

การตรวจสอบทุนสำรองและทุนสะสมฯ  ตรวจสอบการการจ่ายเงินทุนต่าง ๆเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ ตรวจสอบการบันทึกรายการบัญชี และการผ่านรายการ ไปสมุดสรุปประจำวัน/สุมดเงินสด/สมุดรายวันทั่วไป รวมทั้งสมุดรวมบัญชีทั่วไป/สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

สวัสดี