บทที่8 การเขียน Storyboard.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

วิธีการเรียนบทเรียนมัลติมีเดีย Great Wall Chinese
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
ต้องโปสเตอร์แบบไหน จึง “ได้” และ “โดน” ใจคนดู
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
รายงานการวิจัย.
การเขียนผังงาน.
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
Object-Oriented Analysis and Design
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Basic Graphics by uddee
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
โปรแกรม MS Powerpoint และเทคนิคการนำเสนอ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่25 เทคนิคการนำเสนองานด้วย Power Point
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ทัศนคติในเทพนิยาย.
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
ความรู้เกี่ยวกับจอ LCD ของ Notebook และเทคนิคการ เลือกซื้อ.
Mind map อ.วรพจน์ พรหมจักร.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
Mind Mapping.
เรียนรู้เทคนิคอ่านไว
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
Background / Story Board / Character
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
ขนาดภาพ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
ครูสุนิสา เมืองมาน้อย
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
การเคลื่อนไหวของกล้อง
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การสร้างสรรค์บทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่8 การเขียน Storyboard

Storyboard คือการเขียนกรอบแสดง เรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ละเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉาก หรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูด และแต่ละอย่าง นั้นมีลำดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน หลัง อะไรจะปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่าง ละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเม ชันหรือหนังขึ้นมาจริงๆ

ประโยชน์ของ Storyboard

สิ่งสำคัญที่อยู่ในStoryboard 1. Subject หรือCharacter ไม่ว่าจะ เป็นคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ หรือตัวการ์ตูน ฯ และที่ สำคัญคือพวกเขากำลังเคลื่อนไหวอย่างไร 2. กล้อง ทำงานอย่างไร ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพ และการเคลื่อนกล้อง 3. เสียง พวกเขากำลังพูดอะไรกัน มีเสียงประกอบ หรือเสียงดนตรีอย่างไร

ขั้นตอนการเขียน storyboard 1. คิด Theme หลักของเรื่อง Theme หลักของเรื่องจะเป็นอะไรที่สั้น ๆ แค่แนวคิดที่จะ นำเสนอจบในประโยคเดียว ยกตัวอย่างเช่น “ทายาทร้อยล้าน ตามหารักแท้” “เป็ดน้อยผจญภัย” “สงครามพิชิต จ้าวอสูร” “รักเกิดในตลาดสด” ฯลฯ

2. เขียนเรื่องย่อ เรื่องย่อคืออะไร เรื่องย่อคือ เรื่องเล่าย่อ ๆ ของทั้งเรื่อง รวบ ใจความหลักของทั้งเรื่อง ถ้านึกภาพไม่ออกว่าเรื่องย่อเป็นอย่างไร สามารถดูตัวอย่างได้ที่หลังแผ่น DVD ส่วนใหญ่การเขียนเรื่องย่อ มักจะให้จบใน หนึ่งหน้า A4 ไม่ ควรทิ้งตอนจบไว้ให้เป็นปริศนา 3. บท บทคือตัวหนังสือที่เล่าเรื่องราวของการดำเนินเนื้อเรื่องที่อ่าน แล้วเห็นภาพเป็นฉากๆ มีการบอกมุมกล้อง เทคนิคถ่ายทำ และ บท พูดไว้อย่างชัดเจน

4. เขียน Story board เมื่อได้บทลงตัวแล้ว เราก็จะมาเขียน Story board ตัวStory board จะประกอบด้วย ด้านที่เป็นภาพ และด้านที่ เป็นตัวอักษรอธิบายภาพ เสียงประกอบหรือเสียงพูดจากบทด้วย

5. Shooting Board เมื่อเราได้ Story board แล้วค่อยมาแตกเป็น shooting board อีกครั้ง Shooting board จะเหมือนกับ Story board แต่ความละเอียดสูงกว่า มีทุกภาพที่จะอยู่ใน Animation ของเรา เพื่อจะให้คนทำต่อทำได้อย่างถูกต้อง

ตัวอย่าง Shooting board

6. Animation เมื่อเราได้ Shooting board เรียบร้อยแล้ว  ก็ลง มือทำ animation โดยอาจจะทำแบบคร่าวๆ ก่อน แล้วค่อย ลงรายละเอียดทีหลัง

ขนาดภาพและมุมกล้อง การกำหนดขนาดภาพและมุมกล้องที่ดีใน Story board จะ ช่วยให้ผลงานมัลติมีเดียสื่อความหมายได้ดีตามไปด้วย ซึ่ง ขนาดภาพและมุมกล้องที่สำคัญๆ มีดังนี้

Camera : Close up ใช้สำหรับเจาะรายละเอียดบนใบหน้า หรือ ส่วน อื่นๆ เพื่อเน้นความสำคัญในรายละเอียดของวัตถุ นั้นๆ ขนาดของภาพจะเห็นประมาณ หัวถึงคาง

Camera : Extreme Close Up เป็นภาพขนาดใกล้มาก เก็บรายละเอียดเล็กๆ เช่น เม็ดเหงื่อบนจมูก ภาพสะท้อนในดวงตา บางทีเป็น ฉากซูมให้เห็นผิวหนังก็ได้

Camera : Medium Shot จะเริ่มตั้งแต่หัวถึงเอว หรือจะลงมาถึงเข่าก็ได้ ซึ่ง ภาพขนาดนี้ จะเน้นที่ตัววัตถุโดยรวม เห็นรายละ เอียดโดยรวม สามารถถ่ายทอดการเคลื่อนไหวของ วัตถุได้ในระดับหนึ่ง

Camera : Long Shot เป็นภาพระยะไกล เห็นรายละเอียดของสภาพแวด เป็นภาพระยะไกล เห็นรายละเอียดของสภาพแวด ล้อม ว่าทำอะไรที่ไหน ส่วนใหญ่จะใช้เล่าเกี่ยวกับ สถานที่ และ เวลา

Camera : Extra Long Shot เป็นภาพขนาดกว้างมาก บางทีอาจแทบไม่เห็นตัว วัตถุเลยก็ได้ เน้นสถานที่อย่างเดียว ให้เห็นถึง ความกว้าง ความใหญ่ ความสูง หรือ ความแตกต่าง ระหว่างสถานที่กับวัตถุ

Camera : Bird eye view ภาพแทนสายตาของนก (ภาพมุมสูง) เวลามองวัตถุ สามาถถ่ายทอดความรู้สึกได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นหดหู่ หรือ ดูต่ำต้อย บางทีก็ใช้ภาพมุมสูงเพื่อให้เห็นความอลังการของฉากก็ได้ เช่น ภาพคนใส่สูทดำ เป็นร้อยๆ คน มีคนใสสีแดงอยู่คน เดียว อย่างนี้ใช้ภาพมุมสูงจะเห็นได้ชัดมาก

Camera : Worm eye view ภาพที่กล้องอยู่ต่ำกว่าวัตถุ (ภาพมุมต่ำ) ภาพมุมนี้สามารถบอกว่า วัตถุดูน่ากลัว หรือยิ่งใหญ่ แค่ไหนได้

Camera : Pan เป็นเทคนิคการเคลื่อนกล้องจากซ้าย ไป ขวา หรือ ขวามาซ้ายก็ได้ เราจะเรียกว่าแพน ใช้ในหลายกรณีมากๆไม่ว่าจะเป็นบอกเรื่องราว เชื่อมระหว่างสถานที่หนึ่งไปอีกสถานที่หนึ่ง

Camera : Tilt เป็นเทคนิคการเคลื่อนกล้องจากบนลงล่าง หรือล่างขึ้นบนใช้ในหลายกรณีมากๆไม่ว่าจะเป็นบอกเรื่องราว เชื่อมระหว่างจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง

Camera : Over-shoulder Shot ภาพผ่านไหล่ ใช้ในฉากที่มีตัวแสดงมากกว่าหนึ่งขึ้นไป คือภาพที่เห็นตัวแสดงโดยมองจากมุมมองที่ผ่านไหล่ตัวละครอีกตัวหนึ่ง

THANK YOU