แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ผลการประเมิน สถานบริการแพทย์แผนไทย
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
ค่าตอบแทนพนักงานราชการ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การลงบันทึกกิจกรรมนวดไทย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
แนวทางการดำเนินงานแพทย์แผนไทย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการการแพทย์แผนไทย สปสช.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ศูนย์แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร.
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ที่มาของกฎหมาย พระราชบัญญัติ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ประเด็นการตรวจราชการ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
ปีงบประมาณ ให้ส่งข้อมูลรูปแบบ 18 แฟ้ม สนย. อย่างเดียว โดยแยกข้อมูลที่ส่งออกเป็น 2 ชุด 1. ชุดข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) ได้แก่ แฟ้ม Person,
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การดำเนินการตามภารกิจ การให้บริการจัดหางานในประเทศ
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
Palliative Care e-Claim.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558

การจัดสรรงบบริการแพทย์แผนไทย สปสช.เขต 10 ปี 2558 การจัดสรรงบบริการแพทย์แผนไทย สปสช.เขต 10 ปี 2558

เกณฑ์พัฒนาศักยภาพ แพทย์แผนไทย หมายถึง ผู้ที่จบปริญญาตรีจากหลักสูตรและสถาบันที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ และมีใบประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยหรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

เกณฑ์พัฒนาศักยภาพ จัดสรรงบประมาณงวดเดียว 100% ให้หน่วยบริการ จัดสรรงบประมาณงวดเดียว 100% ให้หน่วยบริการ ภายใน 30 ธันวาคม 2557 หน่วยบริการที่ได้รับงบประมาณเพิ่มจำนวน 20000 บาทให้ส่งผลการดำเนินงานให้สปสช. ภายในสิงหาคม 2558

เกณฑ์ผลงานบริการ เป็นงบประมาณที่เหลือจากการจัดสรรงบพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการแยกรายกิจกรรมดังนี้ การนวด อบ ประคบสมุนไพร สัดส่วนงบประมาณ60% การใช้ยาสมุนไพร สัดส่วนงบประมาณ 30% การฟื้นฟูมารดาหลังคลอด สัดส่วนงบประมาณ 10%

เกณฑ์ผลงานบริการ มีเกณฑ์ในการจัดสรรดังนี้ 1. การนวดอบประคบสมุนไพรเพื่อการรักษาฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทยมีเกณฑ์การจ่ายคิดเป็น บาท/point (ผลงานบริการ)ดังนี้ A. การให้บริการในหน่วยบริการ - นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 0.5 คะแนน - อบไอน้ำสมุนไพร ครั้งละ 0.5 คะแนน ****กรณีถ้ามีการทำหัตถการประคบและอบในวันเดียวกัน จะตัดให้เฉพาะหัตถการใดหัตถการหนึ่งเท่านั้น**** B. การให้บริการในชุมชน กรณีในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง, ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, ผู้พิการ, อัมพฤกษ์/อัมพาต และผู้สูงอายุ - นวด ครั้งละ 1.5 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 1.2 คะแนน ***ไม่มีการคิดค่า K

เกณฑ์ผลงานบริการ 2.การใช้ยาสมุนไพร จัดสรรให้ทุกหน่วยบริการ โดยพิจารณาจากปริมาณการใช้ยาสมุนไพรจาก ED ตามรายการสั่งจ่ายยาสมุนไพร 1 รายการยา คิดเป็น1 คะแนน

เกณฑ์ผลงานบริการ 3.การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอดจัดสรรเป็นชุดบริการ1 ชุด บริการคิดเป็น 1 คะแนน กรณีเป็นหน่วยบริการเดิมของปีงบประมาณ 2557ยืนยันผู้ให้บริการและสามารถให้บริการต่อเนื่องได้ กรณีเป็นหน่วยบริการใหม่ ต้องมีการสมัครเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการ

เกณฑ์ผลงานบริการ 3.การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด(ต่อ) การบริการต้องให้เป็นไปตาม CPG ที่สปสช.กำหนด สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ***โดยผู้ให้บริการต้องเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย (ประเภทนวดไทย/ผดุงครรภ์ไทย) หรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์*** การให้บริการ 1 ชุดกิจกรรม ต้องให้บริการครบ 5 ครั้ง และแต่ละครั้งต้องครบ 5 กิจกรรม (นวด อบประคบ ทับหม้อเกลือ แนะนำการปฏิบัติตัวฯ)และต้องทำภายใน 90 วันหลังคลอด

เกณฑ์ผลงานบริการ จ่ายตามผลงานจริงงวดเดียว ใช้ข้อมูลบริการ 12 เดือน กรกฎาคม 2557 -มิถุนายน 2558 ตัดข้อมูล 30 กรกฏาคม 2558 จ่ายชดเชย สิงหาคม 2558 ****สปสช.เขต 10 ไม่รับการอุทธรณ์ข้อมูลการให้บริการเนื่องจากงบประมาณเป็นงบ Global รายเขต สปสช.เขต10 ไม่ได้กันเงินไว้สำหรับการอุทธรณ์ข้อมูลและก่อนทำการตัดข้อมูลและการจ่ายชดเชยค่าบริการจะมีการแจ้งและส่งข้อมูลให้ทางผู้รับผิดชอบงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยืนยันข้อมูลให้ก่อน****

การจ่ายชดเชย สิทธิ UC กรณี OP เท่านั้น ไม่ตายก่อนมารับบริการ ไม่อยู่ระหว่าง Admit ขณะมารับบริการ เลข CID ผู้รับบริการและผู้ให้บริการต้องมีในฐานข้อมูลประชากรของสนบท.หรือสปสช

การบริการนวด อบ ประคบ การประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ การบริการนวด อบ ประคบ การประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ผู้ให้บริการ 1 คน นวดได้ไม่เกิน 5 คนต่อวัน การบันทึกข้อมูลหัตถการแพทย์แผนไทย(หัตถการ 7 หลัก) การบันทึกข้อมูลการวินิจฉัยโรค(รหัสโรคแผนปัจจุบันหรือรหัสโรคแผนไทย) ผู้รับบริการสามารถมารับบริการได้ไม่เกิน 1 ครั้ง/วัน เลข CID ของผู้ให้บริการต้องตรงตาม OP/PP และตามไฟล์ที่ยืนยันผ่านสสจ.

การใช้ยาสมุนไพร รหัสยาสมุนไพร 24 หลักที่ถูกต้อง รหัสยาสมุนไพร 24 หลักที่ถูกต้อง เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด เป็นหน่วยบริการที่สมัคร จำนวน 94 แห่ง ผู้ให้บริการเป็นผู้มีใบประกอบโรคศิลป์เท่านั้น หัตถการที่ให้บริการมารดาหลังคลอด(9007712, 9007713, 9007714, 9007716, 9007730) ต้องมี DX U ด้วย

การจัดสรรงบประมาณทั้ง 3กิจกรรม ของสปสช.เขต 10 การจัดสรรงบประมาณทั้ง 3กิจกรรม ของสปสช.เขต 10 กิจกรรม ปี 2556 ปี 2557 นวด อบ ประคบ 16,058,508(13.80) 17,732,905(10.78) การใช้ยาสมุนไพร 7,846,500(7.30) 8,714,100(8.37) ฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด 2,250,000(2488) 2,900,000(2500) รวม

ตัวชี้วัดงานแพทย์แผนไทย ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 18

ผลการดำเนินงานแพทย์แผนไทยจาก HDC2 ข้อมูล ณ 6 มกราคม 2558