โลก (Earth).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
(Structure of the Earth)
โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
and Sea floor spreading
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
แผ่นดินไหว.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ระบบสุริยะ (Solar System).
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
น้ำ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ระบบสุริยะ จักรวาล.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โลก (Earth)

โลกเป็นดาวเคราะห์ที่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นอันดับที่สาม และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ห้า

โลกเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีชื่อเรียกที่ไม่ได้มาจาก ตำนานของกรีกหรือโรมัน เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่สามารถศึกษาได้โดยไม่ต้องอาศัยยานอวกาศ แต่กว่าที่จะทำการสำรวจได้ครอบคลุมพื้นผิวทั้งหมดของโลกก็ล่วงเลยเข้ามาในศตวรรษที่ 20 ภาพถ่ายจากยานอวกาศซึ่งนอกจากช่วยในการทำแผนที่แล้ว ยังนำมาใช้ในการทำนายสภาพภูมิอากาศ

โลกหมุนรอบตัวเองใช้เวลา 23.9345 ชั่วโมงและโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.256 วัน มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 12,756 กิโลเมตร

โลกในอดีตมีการหมุนรอบตัวเองที่เร็วมาก แกนแกลางที่เป็นเหล็กและนิเกลทำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้น บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีที่ปลดปล่อยออกจากดวงอาทิตย์และดวงดาวอื่นๆ

โครงสร้างของโลก

ความหนาของเปลือก เปลี่ยนแปลงไปได้ในแต่ละบริเวณ ในมหาสมุทรจะมีความหนาน้อยกว่าในผืนทวีป ส่วนที่เป็นแกนกลางส่วนในและเปลือก เป็นของแข็ง ส่วนที่เป็น mantle และแกนกลางส่วนนอกเป็น plastic หรือ semi-fluid ส่วนต่างๆแยกออกจากกันด้วยความไม่ต่อเนื่อง (discontinuity) ซึ่งได้หลักฐานจากคลื่นแผ่นดินไหว และความไม่ต่อเนื่องที่รู้จักกันดีคือ Mohorovicic discontinuity

แกนกลางประกอบด้วยเหล็กเป็นส่วนใหญ่ (หรือนิเกล/เหล็ก) อุณหภูมิที่จุดศูนย์กลางของแกนกลางโลกประมาณ 7500 K ซึ่งสูงกว่าอุณหภูมิที่พื้นผิวของดวงอาทิตย์ ชั้น lower mantle ส่วนใหญ่ประกอบซิลิคอน, แมกนีเซียม แล ออกซิเจน และบางส่วนของเหล็ก, แคลเซียม และ อลูมิเนียม ชั้น upper mantle ส่วนใหญ่ประกอบด้วยโอลิวีน และ ไพรอกซีน, แคลเซียม และ อลูมิเนียม ข้อมูลเหล่านี้ได้จากการศึกษาคลื่นแผ่นดินไหว

ส่วนประกอบของโลก

โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่มีความหนาแน่นมากที่สุด

เปลือกแบ่งออกได้เป็นหลายเพลต ที่เคลื่อนที่ได้อย่างเป็นอิสระบนชั้น mantle ทฤษฎีที่ใช้ในการอธิบายการเคลื่อนตัวของเพลต เรียกว่าเพลตเทคโทนิคส์ (plate tectonics)

เพลตที่สำคัญ 8 เพลต North American Plate – North America, western North Atlantic and Greenland South American Plate – South America and western South Atlantic Antarctic Plate – Antractic and the “South Ocean” Eurasian Plate – eastern North Atlantic, Europe, and Asia except for India

เพลตที่สำคัญ 8 เพลต African Plate – African, eastern South Atlantic and western Indian Ocean Indian-Austrian Plate – India, Australia, New Zealand and most of Indian Ocean Nazca Plate – eastern Pacific Ocean adjacent to South America Pacific Plate - most of thePacific Ocean (and the southern coast of California)

พื้นผิวโลกซึ่งมีอายุน้อย เนื่องจากการที่มีขบวนการทำลายและสร้างขึ้นใหม่ของพื้นผิวโลกตลอดเวลา ดังนั้นประวัติศาสตร์ของโลกในยุคแรกจึงหายสาบสูญ โลกซึ่งเชื่อว่ามีอายุอยู่ประมาณ 4.5 ถึง 4.6 พันล้านปี แต่หินที่เชื่อว่าแก่ที่สุดมีอายุเพียง 4 พันล้านปี ซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดเป็นส่วนของสิ่งมีชีวิตที่มีอายุน้อยกว่า 3.9 พันล้านปี และยังไม่พบหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงจุดเริ่มต้นของการเกิดของสิ่งมีชีวิต

ประมาณ 71% ของพื้นผิวโลก ปกคลุมด้วยน้ำ โลกเป็นเพียงดาวเคราะห์ดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีน้ำในรูปของเหลวที่อยู่บนพื้นผิว น้ำที่อยู่ในรูปของของเหลวมีความสำคัญมากกับสิ่งมีชีวิต ความร้อนที่กักเก็บอยู่ในมหาสมุทรมีความสำคัญในการทำให้อุณหภูมิของโลกมีความเสถียร น้ำยังเป็นตัวการที่ทำให้เกิดการผุพังทำลายบนแผ่นทวีปที่ซึ่งไม่พบในดาวเคราะห์อื่น (ถึงแม้ว่าอาจเคยเกิดขึ้นบนดาวอังคารในอดีตที่ผ่านมา)

บรรยากาศของโลกประกอบด้วยไนโตรเจน 78%, ออกซิเจน 21% ส่วนที่เหลือเป็น อากอน, คาร์บอนไดออกไซต์ และ น้ำ เป็นที่เชื่อกันว่าในขณะที่เกิดโลกขึ้นใหม่ๆนั้น ปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ในบรรยากาศอาจสูงมาก บางส่วนละลายอยู่ในมหาสมุทรและถูกพืชนำไปใช้

การเจริญเติบโตของพืชทำให้เกิดการไหลเวียนของคาร์บอนไดออกไซต์ ปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ที่หลงเหลืออยู่ในบรรยากาศมีความสำคัญอย่างมากในการรักษาความเสถียรของอุณหภูมิของโลกโดยอาศัยปรากฏการณ์เรือนกระจก ซึ่งจะสามารถทำให้อุณหภูมิของพื้นผิวเฉลี่ยสูงขึ้นได้ประมาณ 35 OC ถ้าปราศจากระบบดังกล่าวโลกอาจกลายเป็นน้ำแข็งทั้งหมดและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ก็ไม่สามารถอยู่ได้

สิ่งที่น่าสังเกตอันหนึ่งเกี่ยวกับปริมาณออกซิเจนในบรรยากาศ ซึ่งโดยทั่วไปออกซิเจนมีความไวต่อการทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นๆมาก ออกซิเจนที่อยู่ในบรรยากาศเป็นผลมาจากกระบวนการทางชีวภาพ ซึ่งถ้าปราศจากสิ่งมีชีวิตก็ไม่อาจมีออกซิเจนในบรรยากาศได้

โลกมีสนามแม่เหล็กซึ่งเกิดจากกระแสไฟฟ้าที่แกนกลาง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างลมสุริยะ สนามแม่เหล็กโลก และบรรยากาศตอนบนของโลกทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า auroras