สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
G reat things in business are never done by one person. They’re done by a team of people.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การเงินการคลัง โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2560
หน่วยบริการในเขตสุขภาพที่ 8
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
ระบบเศรษฐกิจ.
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผน Planfin
กลุ่มที่ 4 ต้นแบบระบบสารสนเทศ ด้านการคลังเพื่อการบริหารจัดการ.
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
PLANFIN 60 เขตสุขภาพที่ 12.
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การวางแผนกำลังการผลิต
การติดตาม (Monitoring)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การบริหารเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน รอบเดือน ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552

สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : โรงพยาบาล

สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : สถานีอนามัย

ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ ปีงบประมาณ 2552

ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ

สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง รอบเดือน ตุลาคม 2552 - มกราคม 2553

วิเคราะห์ สภาพคล่องทางการเงิน

อัตราส่วนทางการเงิน CR QR

Cash Ratio

สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน

ระยะหมุนเวียนถัวเฉลี่ยลูกหนี้ NON UC วัน

ระยะหมุนเวียนถัวเฉลี่ยลูกหนี้ NON UC ดัชนี รพ.กระบี่ รพ.อ่าวลึก รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม รพ.เหนือคลอง รพ.ปลายพระยา รพ.ลำทับ รพ.เกาะลันตา ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษา Non UC และ Non SSS ( วัน ) 33.19 39.43 56.78 33.03 35.49 65.20 26.65 16.11 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม ( วัน ) 134.81 72.81 85.49 81.79 64.74 117.03 94.90 101.61 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษาตามจ่ายUC ( วัน ) 30.69 37.23 45.95 15.60 41.36 61.87 21.11 46.62 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษาเบิกคลังและต้นสังกัด ( วัน ) 51.47 63.25 83.61 66.27 69.03 123.73 65.64 48.50

ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ วัน

ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ ดัชนี รพ.กระบี่ รพ.อ่าวลึก รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม รพ.เหนือคลอง รพ.ปลายพระยา รพ.ลำทับ รพ.เกาะลันตา ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้การค้า(วัน) 60.02 186.37 53.85 67.57 126.12 79.86 69.94 213.20 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้การค้าสำหรับค่ายา เวชภัณฑ์และวัสดุการแพทย์(วัน) 81.81 224.79 75.31 79.01 91.90 113.11 72.04 224.95 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามจ่ายในจังหวัด (วัน) 24.65 30.32 17.28 16.91 18.98 39.52 41.05 37.18 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามจ่ายนอกจังหวัด,ต่างสังกัด,แรงงานต่างด้าวและค่าบริการ (วัน) 41.11 0.00 91.23 58.63 2.07 149.05

ระยะถัวเฉลี่ยการหมุนเวียนวัสดุคงคลัง

ความสามารถในการทำกำไร วิเคราะห์ ความสามารถในการทำกำไร

วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร

วิเคราะห์ต้นทุน

ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ RW ตค.52- มค.53 รพท.= 23,153 รพช.> 30 = 18,356 รพช.< 30 = 22,059 STD:รพช.

เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อRWกับต้นทุนบริการต่อRW รพท.= 23,153 รพช.> 30 = 18,356 รพช.< 30 = 22,059 รพท.= 23,153 รพช.> 30 = 18,356 รพช.< 30 = 22,059 รพท.= 18,147 รพช.> 30 = 12,696 รพช.< 30 = 15,547

ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อOPD Visit ตค.52-มค.53 รพท.= 1,215 รพช.> 30 = 646 รพช.< 30 = 659

เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ OPD Visit กับต้นทุนบริการต่อOPD Visit รพท.= 1,215 รพช.> 30 = 646 รพช.< 30 = 659 รพท.= 942 รพช.> 30 = 458 รพช.< 30 = 463

จำนวนผู้รับบริการ ครั้ง ผู้ป่วยนอก คน ผู้ป่วยใน

Operating Analysis

ทุนสำรองสุทธิ ล้านบาท ล้านบาท เป็นบวก 281.97

ทุนสำรองสุทธิพอเพียงต่อค่าใช้จ่าย เดือน

I/E Ratio

รายรับและรายจ่ายในการดำเนินงาน

อัตราการครองเตียง/อัตราการใช้เตียง STD:70 STD : 50

อัตราการรับผู้ป่วยในต่อผู้ป่วยนอก/สัดส่วนRefer in ต่อ Refer out STD : 3% STD:0.10

อัตราการตายผู้ป่วยใน/Length Of Stay(LOS)

สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 1 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ดีมาก มี อัตราส่วนทุนหมุนเวียน มากกว่า 1.5 และมีความสามารถในการชำระหนี้ค่อน ข้างสูง ได้แก่ รพ.กระบี่ รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม และรพ.ลำทับ 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรอง หรือมีอัตราเงินทุนหมุนเวียนเดิมเพียงพออยู่แล้ว และมีทุนสำรองสุทธิ ณ ปัจจุบัน สามารถดำรงอยู่ได้มากกว่า 6 เดือน 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีระบบการบริหารจัดการภายในโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม เช่น มีระบบศูนย์กลางการเรียกเก็บและจัดเก็บลูกหนี้ มีระบบการบริหารภาระหนี้สิน สังเกตุได้จาก ระยะถัวเฉลี่ยวันหมุนเวียนของลูกหนี้/เจ้าหนี้ไม่เกิน 90 วัน และโรงพยาบาลมีระบบศูนย์จำหน่ายผู้ป่วย มีระบบการตรวจสอบสิทธิการรักษาที่มีประสิทธิภาพ มีแผนการเงินรองรับการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย 3. โรงพยาบาลมีระบบการควบคุม กำกับ ติดตาม วิเคราะห์ปัญหาทางด้านการเงินการคลัง และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ

สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 2 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ มีสภาพคล่องไม่ดีนัก และแต่ยังคงมีอัตราส่วน เงินสดที่อยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งแสดงถึงยังคงมีความสามารถในชำระหนี้ระยะสั้น โรงพยาบาลในกลุ่มนี้ระยะยาวต้อง มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุมมากขึ้น และต้องปรับระบบการบริหารจัดการด้านการเงินให้ เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย ได้แก่ รพ.ปลายพระยา รพ.เหนือคลอง 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองเพียงพอ ต่อค่าใช้จ่ายประเภท Fixed Cost แต่สำหรับค่าใช้จ่ายในส่วน Variable Cost และการลงทุนในประเภทสินทรัพย์ครุภัณฑ์ ต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม 2. โรงพยาบาลมีระบบการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ในขอบเขตจำกัด เนื่องจากปัญหาสภาพพื้นที่ ปัญหาเงินทุนสำรองที่มีอยู่อย่างจำกัด และความต้องการพัฒนาคุณภาพงานบริการ สภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ภายนอกองค์กร ดังนั้น เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงิน จะต้องมีปรับระบบการบริหารจัดการให้เกิดสภาวะสมดุลด้านรายรับและรายจ่าย และปรับลดการลงทุนในสินทรัพย์ที่ไม่คุ้มค่าคุ้มทุน

สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 3 กลุ่มโรงพยาบาลที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน โรงพยาบาลกลุ่มนี้ความสามารถในการชำระหนี้ และความสามารถ ในการทำกำไรค่อนข้างต่ำ เนื่องจากโรงพยาบาลจะต้องแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูงและต้องแบกรับภาระต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการมาก ถึงแม้จะมีการเพิ่มช่องทางการเก็บรายได้ และสามารถจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นก็ตาม โรงพยาบาลในกลุ่มนี้จะต้องประคับประคองการใช้จ่ายเงิน ควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย ให้มีการใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล และเป็นไปตามแผน และต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุม และต้องอาศัยเงินสนับสนุน ช่วยเหลือจากส่วนกลาง ได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึก และโรงพยาบาลเกาะลันตา 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองค่อนข้างน้อยมาก รายได้ส่วนใหญ่ได้จากเงินกองทุน UC ขณะที่ต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายงบบุคลากรค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่เพิ่มขึ้น 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูง เนื่องจากมีกำลังในการชำระหนี้น้อยมาก ทำให้เกิดสภาพหนี้สินทวีคูณ 3. โรงพยาบาลกลุ่มนี้มีแนวคิดในการบริหารจัดการ ซึ่งได้มีการจัดทำ Financial Reform รองรับ แต่ส่วนใหญ่อยู่ในขอบเขตจำกัด เช่น การบริหารภาระหนี้สิน ไม่สามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายชำระหนี้ให้ทันภายในกรอบเวลา ได้แก่ เจ้าหนี้การค้ายา/เวชภัณฑ์ ค่าตอบแทนบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่างๆ 4. เกิดจากปัญหาสภาพพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรงพยาบาลเกาะลันตา ซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกล การคมนาคมไม่สะดวก การพัฒนาด้านต่างๆ ค่อนข้างดำเนินการได้จำกัด

ข้อเสนอและแนวทางการแก้ปัญหา สนับสนุนเงิน CF ช่วยเหลือรพ.เกาะลันตา เป็นเงิน 2,334,708.15 บาท โรงพยาบาลที่เข้าข่ายประสบปัญหาได้แก่ รพ.เกาะลันตา และรพ.อ่าวลึก ให้จัดทำ Financial Reform โรงพยาบาลเหนือคลองซึ่งเริ่มมีปัญหาทางด้านการเงิน ให้ดำเนินการตามแผนอย่างเคร่งครัด กำหนดมาตรการประหยัด และลดการลงทุนในสินทรัพย์ที่ไม่จำเป็น เบื้องต้นจังหวัดจะลงพื้นที่ติดตามการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังโรงพยาบาลอ่าวลึกในเชิงลึก ขอสนับสนุนเงินช่วยเหลือจากระดับเขต เนื่องจากเงินกันระดับจังหวัดมีไม่เพียงพอในการรองรับการช่วยเหลือหน่วยงานในจังหวัดที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน